Page 395 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 395
เปลือกใช้ย้อมสีให้สีแดง เนื้อในฝักและเมล็ดเป็นยาระบาย ส่วน คูนขาว Cassia ราชาวดีหลวง สารานุกรมพืชในประเทศไทย ราชาวดีหลวง
x nealiae H. S. Irwin & Barneby เป็นลูกผสมระหว่าง C. javanica L. ที่มี Buddleja macrostachya Wall. ex Benth.
ก้านชูอับเรณูโป่งกลาง และ C. fistula L. ที่ดอกห้อยลง ซึ่งตั้งตามนักพฤกษศาสตร์
ชาวฮาวาย Marie C. Neal ดอกมีทั้งสีขาว สีครีม สีเหลือง หรือสีส้มอมแดง ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 5 ม. มีขนกระจุกตามกิ่งอ่อน แผ่นใบ กลีบเลี้ยงและหลอดกลีบดอก
ด้านนอก หลอดกลีบดอก และผล ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 4-4.5ซม.
เอกสารอ้างอิง ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่มหรือเรียวสอบจรดล�าต้น ขอบจักมน เส้นแขนงใบข้างละ
Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae. 15-25 เส้น ไร้ก้านหรือเกือบไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกที่ปลายกิ่ง ยาว
In Flora of Thailand Vol. 4(1): 103-105.
Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum 5-20 ซม. เรียงหนาแน่น หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3-6 มม. กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ
Press, Honolulu, Hawai`i. 2 มม. ดอกสีชมพูอมม่วง ปากหลอดสีส้ม หลอดกลีบดอกยาว 0.8-1 ซม. กลีบกลม
ยาว 2-4 มม. อับเรณูยาวประมาณ 2 มม. รังไข่มีขนกระจุกสั้นนุ่ม ก้านเกสรเพศเมีย
ยาว 0.5-3 มม. ยอดเกสรรูปคล้ายกระบอง ผลแห้งแตก รูปรี ยาว 0.7-1 ซม.
พบที่อินเดีย ภูฏาน บังกลาเทศ พม่า จีนตอนใต้ และเวียดนาม ในไทยพบทาง
ภาคเหนือที่ดอยเชียงดาวและดอยผ้าห่มปก จังหวัดเชียงใหม่ ขึ้นตามที่โล่งบนเขาหินปูน
ความสูง 1600-2200 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Li, B. and A.J.M. Leeuwenberg. (1996). Loganiaceae. In Flora of China Vol. 15:
329-337.
Opie, P. and J. Parnell. (2002). Buddlejaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(4): 655-661.
ราชพฤกษ์: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ห้อยลง ดอกสีเหลือง ฝักรูปทรงกระบอก (ภาพซ้าย: cultivated - RP); คูนขาว:
Cassia x nealiae ดอกมีทั้งสีขาว สีครีม สีเหลือง ก้านชูอับเรณูโป่งกลาง (ภาพขวา: cultivated - RP)
ราชาวดี, สกุล
Buddleja L.
วงศ์ Scrophulariaceae
ไม้พุ่มหรือรอเลื้อย หูใบคล้ายใบหรือลดรูป ล�าต้นมักเป็นสี่เหลี่ยม ใบส่วนมาก
เรียงตรงข้าม ขอบเรียบหรือจักซี่ฟัน ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกแยกแขนง ช่อเชิงลด
หรือช่อแยกแขนง ช่อกระจุกย่อยมี 1-3 ดอก ใบประดับคล้ายใบ ดอกสมบูรณ์เพศ
หรือมีเพศเดียว กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 4 กลีบ ติดทน ดอกรูประฆัง
รูปดอกเข็ม หรือรูปแตร มี 4 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม ปากหลอดกลีบมักมีขนสั้นนุ่ม ราชาวดี: ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกเดี่ยว ๆ หรือแยกแขนง ปากหลอดกลีบดอกมีขนสั้นนุ่ม (ภาพซ้าย:
เกสรเพศผู้ 4 อัน ติดภายในหลอดกลีบระหว่างกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้นหรือไร้ก้าน กาญจนบุรี - SSi; ภาพขวาบน: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - PK; ภาพขวาล่าง: form ของต้นที่เป็นไม้ประดับ - RP)
อับเรณูติดหันเข้า โคนแฉกลึกรูปหัวใจ รังไข่มี 2-4 ช่อง ออวุลจ�านวนมาก ยอด
เกสรเพศเมียเป็นตุ่มหรือจัก 2 พู ผลแห้งแตกตามรอยประสานหรือผลสด เมล็ด
ขนาดเล็กจ�านวนมาก มีปีกที่ปลายทั้งสองด้าน
สกุล Buddleja เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Buddlejaceae และ Loganiaceae พบในเขตร้อน
ทั้งในอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย มีประมาณ 125 ชนิด ในไทยมีพืชพื้นเมือง
2 ชนิด และหลายชนิดพบเป็นไม้ประดับ เช่น ราชาวดีม่วง B. davidii Franch.
ที่ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกแยกแขนง มีหลากสายพันธุ์ ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์
ชาวอังกฤษ Adam Buddle (1660-1715)
ราชาวดีหลวง: ถิ่นที่อยู่บนที่โล่งเขาหินปูน ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกที่ปลายกิ่ง มีแต้มสีส้มที่ปากหลอดกลีบดอก
ราชาวดี (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - SSi)
Buddleja asiatica Lour.
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 5 ม. มีขนกระจุกสั้นนุ่มหนาแน่นตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง
ช่อดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก ใบรูปไข่ รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ยาว
ได้ถึง 16 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเรียวสอบ ขอบจักฟันเลื่อย ก้านใบยาว 0.2-1.5 ซม.
ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ยาวได้ถึง 30 ซม. บางครั้งแยกแขนง ก้านดอกยาวประมาณ
2 มม. หลอดกลีบเลี้ยง ยาว 1.5-4.5 มม. กลีบรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาวประมาณ
1.5 มม. ดอกสีขาวหรืออมเขียว หลอดกลีบยาว 2.5-6 มม. กลีบกลม ยาว 1-1.7 มม.
ขอบเรียบหรือจักเป็นคลื่น อับเรณูยาวประมาณ 1 มม. รังไข่เกลี้ยงหรือมีเกล็ดรังแค
ปลายเรียวยาวเป็นก้านเกสรเพศเมีย ยาวได้ถึง 3.5 มม. ผลแห้งแตก รูปรี ยาว 3-5 มม.
พบที่อินเดีย บังกลาเทศ เนปาล จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
นิวกินี และฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่า ความสูง 200-2500 เมตร
และเป็นไม้ประดับ ดอกขยี้ใช้ทาแก้โรคผิวหนัง ใบและกิ่งอาจมีพิษ ใช้เบื่อปลา ต้นที่
เป็นไม้ประดับ ใบส่วนมากรูปไข่ ดอกหนาแน่น มักเข้าใจว่าเป็น B. paniculata
Wall. ที่ขอบใบเรียบ ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ดอกมีทั้งสีม่วง ชมพู และ ราชาวดีม่วง: B. davidii ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกแยกแขนง ดอกสีม่วง หลอดกลีบดอกเกลี้ยง ปากหลอดกลีบดอกสีส้ม
ขาว หลอดกลีบดอกยาว 0.6-1 ซม. รังไข่มีขน และยอดเกสรเพศเมียรูปกระบอง และมีหลายสายพันธุ์ (ภาพ: cultivated - RP)
375
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 375 3/1/16 6:13 PM