Page 390 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 390
ระคนทอง
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
รองเท้านารีเหลืองปราจีน: ดอกสีเหลืองอ่อน มีจุดหรือริ้วสีม่วงอมน�้าตาลแดงกระจาย กลีบเลี้ยงบนกว้างยาว ระคนทอง: ช่อดอกแบบช่อกระจะ กลีบดอกมีก้านกลีบสั้น ๆ โคนคล้ายเงี่ยงลูกศร ก้านชูอับเรณูเปลี่ยนเป็นสีแดง
เท่า ๆ กัน กลีบดอกรูปรี แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันรูปไข่ เป็นเหลี่ยม (ภาพ: อุ้มผาง ตาก - PK) ผลมีแฉกรูปดาว 8-9 ปีก ขนาดไม่เท่ากัน (ภาพ: ทุ่งทะเล กระบี่ - RP)
ระฆังแก้ว
Campanumoea javanica Blume
วงศ์ Campanulaceae
ชื่อพ้อง Codonopsis javanica (Blume) Hook. f. & Thomson
ไม้เถา มีหัวใต้ดิน ล�าต้นเกลี้ยง ใบเรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม รูปไข่หรือ
รูปหัวใจ ยาว 2.5-8 ซม. โคนเว้าตื้น ขอบเรียบหรือจักฟันเลื่อยห่าง ๆ แผ่นใบเกลี้ยง
หรือมีขนประปรายด้านล่าง ก้านใบยาว 1.5-6 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ
ก้านดอกยาว 1-5 ซม. กลีบเลี้ยงอยู่ใต้รังไข่ ไม่เชื่อมติดรังไข่ ติดทน มี 5 กลีบ
แฉกลึกเกือบจรดโคน กลีบรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 1-2 ซม. ดอกสีขาวอมเขียว
ด้านในมีลายสีม่วงอ่อน รูประฆังคว�่า ยาว 1.5-3.5 ซม. ปลายแยก 5 แฉก ลึกประมาณ
กึ่งหนึ่ง เกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านชูอับเรณูรูปเส้นด้าย ติดใต้รังไข่ ไม่ยื่นพ้นหลอดกลีบดอก
รังไข่ใต้กลีบดอก มี 5 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 ซม. ยอดเกสรจัก 3 พู
รองเท้านารีเหลืองเลย: ดอกมีสีหรือจุดสีน�้าตาลแซม มีขนครุย ขอบกลีบเป็นคลื่น กลีบดอกรูปใบพาย บิดประมาณ ผลสด เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม. ผลแก่สีม่วง เมล็ดขนาดเล็กจ�านวนมาก
กึ่งหนึ่ง แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันคล้ายรูปสี่เหลี่ยม (ภาพ: cultivated - TP)
พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า ลาว เวียดนาม ชวา ในไทยพบ
กระจายทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกที่ชัยภูมิ ขึ้นตามชายป่าดิบเขาหรือป่าสน
ความสูง 1000-2000 เมตร
สกุล Campanumoea Blume มีเพียงชนิดเดียว แยกเป็น subsp. japonica
(Makino) D. Y. Hong พบที่จีน ไต้หวัน และญี่ปุ่น ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน
“campana” หมายถึงคล้ายระฆัง ตามลักษณะดอก
เอกสารอ้างอิง
de Wilde, W.J.J.O. and B.E.E. Duyfjes. (2014). Campanulaceae. In Flora of
Thailand Vol. 11(4): 507-510.
รองเท้านารีอินทนนท์: ดอกสีเหลืองอมน�้าตาล กลีบเลี้ยงบนด้านในมีปื้นสีน�้าตาลแดง กลีบดอกโค้งเข้า รูปไข่กลับ
แกมรูปใบพาย โคนมีขนสีม่วง แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันคล้ายรูปหัวใจ กลางแผ่นเป็นสัน (ภาพ: cultivated - PK)
ระคนทอง
Tristellateia australasiae A. Rich.
วงศ์ Malpighiaceae
ไม้เถา ยาวได้ถึง 10 ม. กิ่งอ่อนมีขน หูใบเชื่อมติดก้านใบ ยาว 1-2 มม. ใบเรียง
ตรงข้ามหรือรอบข้อ รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 6-12 ซม. โคนกลมหรือเว้าตื้น
ก้านใบยาว 1-2 ซม. ปลายก้านมีต่อม 2 ต่อม ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาว 10-20 ซม.
ดอกเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ก้านดอกยาว 1.5-3 ซม. มีข้อใต้จุดกึ่งกลางก้านดอก
ใบประดับ 1 ใบ ยาว 2-3 มม. ใบประดับย่อย 2 ใบ ขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
รูปสามเหลี่ยมปลายมน ยาว 3-4 มม. บางครั้งมีต่อม ดอกสีเหลือง มี 5 กลีบ
รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่ ยาว 0.8-1.5 ซม. โคนคล้ายเงี่ยงลูกศร มีก้านกลีบ
เกสรเพศผู้ 10 อัน โคนเชื่อมติดกัน สีเหลืองเปลี่ยนเป็นสีแดง ยาวไม่เท่ากัน ยาว
ระฆังแก้ว: ใบเรียงตรงข้าม ดอกออกเดี่ยว ๆ รูประฆังคว�่า ยอดเกสรเพศเมียจัก 3 พู กลีบเลี้ยงติดทน ผลแก่สีม่วง
3-5 มม. มี 3 คาร์เพล โคนมีรยางค์ ก้านเกสรเพศเมียยาว 6-8 มม. ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - SSi)
1-2 ซม. แฉกรูปดาว 8-9 ปีก ขนาดไม่เท่ากัน มี 3 เมล็ด ยาว 5-6 มม.
พบที่ไต้หวัน เวียดนามตอนใต้ ภูมิภาคมาเลเซีย หมู่เกาะแปซิฟิก และ ระฆังทอง
ออสเตรเลีย ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้และภาคใต้ ขึ้นตามป่าโกงกาง Pauldopia ghorta (Buch.-Ham. ex G. Don) Steenis
หรือรอยต่อกับป่าดิบชื้น และเป็นไม้ประดับ ใบมีสรรพคุณลดการอักเสบ แก้บวม วงศ์ Bignoniaceae
ชื่อพ้อง Bignonia ghorta Buch.-Ham. ex G. Don
สกุล Tristellateia Thouars มี 20-30 ชนิด ส่วนใหญ่พบที่มาดากัสการ์ ใน
แอฟริกามี 1 ชนิด เอเชียและออสเตรเลีย 1 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน ไม้ต้น สูง 4-7 เมตร ใบประกอบ 2 ชั้น ยาว 20-45 ซม. แกนกลางมีปีก
“tres” ต้นไม้ และ “stella” ดาว ตามลักษณะของผลแยกเป็นแฉกคล้ายดาว แคบๆ ใบย่อยมี 3-4 คู่ รูปรี รูปขอบขนาน แกมรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 3-9 ซม.
มีขนหยาบแข็งและต่อมประปรายบนเส้นใบด้านล่างและขอบใบ ปลายแหลมยาว
เอกสารอ้างอิง ไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบ ยาวได้ถึง 20 ซม. กลีบเลี้ยง
Siriragsa, P. (1991). Malpighiaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(3): 285-287. รูประฆัง ยาว 1-2 ซม. ปลายแยกเป็น 5 แฉกขนาดเล็ก มีต่อมเป็นแถบยาว
370
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 370 3/1/16 6:10 PM