Page 386 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 386
ยี่หุบ ยี่หุบ สารานุกรมพืชในประเทศไทย โยทะกา
Magnolia coco (Lour.) DC. Bauhinia monandra Kurz
วงศ์ Magnoliaceae วงศ์ Fabaceae
ชื่อพ้อง Liriodendron coco Lour., Lirianthe coco (Lour.) N. H. Xia & C. Y. Wu ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน เส้นแขนงใบด้านล่าง
ไม้พุ่ม สูง 2-4 ม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 7-28 ซม. ช่อดอก และก้านดอก หูใบรูปสามเหลี่ยม ยาว 3-6 มม. ใบรูปไข่หรือเกือบกลม
ปลายแหลมหรือแหลมยาว เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เส้น ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ปลายแฉกน้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ปลายแฉกมน โคนเว้ารูปหัวใจ เส้นโคนใบข้างละ 5-6 เส้น
ช่อดอกออกตามปลายกิ่ง มีดอกเดียว ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 ซม. ใบประดับ ก้านใบยาว 3-6 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ ออกตามปลายกิ่งหรือซอกใบ
3-4 ใบ กลีบดอกปกติมี 9 กลีบ เรียง 3 วง รูปไข่กลับ โค้งเข้า ขอบเว้า วงนอก มี 3-7 ดอก ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. ใบประดับรูปใบหอก ยาวประมาณ 1 ซม.
สีเขียวอ่อน ยาวประมาณ 2 ซม. วงในสีครีม ยาว 3-4 ซม. เกสรเพศผู้ยาว 4-6 มม. ใบประดับย่อยยาว 3-6 มม. ติดที่โคนฐานดอก ตาดอกรูปกระสวย ปลายแยก
อับเรณูยาวประมาณ 3 มม. รยางค์เป็นติ่งแหลม วงเกสรเพศเมียรูปไข่ ยาว 1.5-2 ซม. เป็น 5 แฉกเล็ก ๆ ฐานดอกยาว 2.5-3 ซม. กลีบเลี้ยงยาว 1.5-2 ซม. ดอกสีชมพู
มีประมาณ 10 คาร์เพล ก้านเกสรเพศเมียสั้น ผลกลุ่ม รูปรี ยาวประมาณ 3 ซม. มีจุดสีเข้มกระจาย กลีบรูปไข่กลับ ยาว 4-5 ซม. กลีบกลางมีปื้นเป็นจุดสีแดง
เปลือกแข็ง แตกตามรอยเชื่อม เมล็ดรูปไข่ สีแดง ยาวประมาณ 1 ซม. ติดที่แกนผล กระจาย เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์มีอันเดียว ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 4 ซม. มีขน
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ จ�าปี, สกุล) ที่โคน อับเรณูยาวประมาณ 6 มม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 9 อัน ขนาดเล็ก ฝักยาว
มีถิ่นก�าเนิดในจีน ไต้หวัน และเวียดนาม เป็นไม้ประดับทั่วไปในเขตร้อน ได้ถึง 20 ซม. ปลายมีจะงอย มี 10-20 เมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ชงโค, สกุล)
ดอกมีกลิ่นหอมแรงโดยเฉพาะช่วงเช้า ร่วงเร็ว บานช่วงเย็นและกลางคืน ติดผลยาก มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาเขตร้อน แต่ตัวอย่างพรรณไม้ต้นแบบเก็บจากพม่า
ค�าระบุชนิดมาจาก coconut ตามลักษณะดอกตูมคล้ายผลมะพร้าวขนาดเล็ก
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
Liu, Y., N. Xia, L. Yuhu and H.P. Nooteboom. (2008). Magnoliaceae (Lirianthe). In Flora of Thailand Vol. 4(1): 6-7.
In Flora of China Vol. 7: 64.
ยี่หุบ: ช่อดอกออกตามปลายกิ่ง มีดอกเดียว ดอกตูมดูคล้ายผลมะพร้าวขนาดเล็ก กลีบดอกบางครั้งมี 12 กลีบ
เรียง 4 วง (ภาพ: cultivated - RP)
โยทะกา: ใบแฉกลึกไม่ถึงกึ่งหนึ่ง ช่อดอกออกตามปลายกิ่ง ดอกสีชมพูมีจุดสีเข้มกระจาย กลีบกลางมีปื้นเป็นจุดสีแดง
เยื่อกูรัม กระจาย เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์มีอันเดียว ปลายฝักมีจะงอย (ภาพ: cultivated; ภาพดอก - RP, ภาพผล - PT)
Begonia smithiae E. T. Geddes รกฟ้า
วงศ์ Begoniaceae Terminalia alata B. Heyne ex Roth
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 70 ซม. มีขนยาวสีน�้าตาลแดงหนาแน่นตามเหง้า ล�าต้น หูใบ วงศ์ Combretaceae
แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ใบประดับ กลีบดอกด้านนอก มีขนประปรายตามก้าน
ช่อดอกและก้านดอก หูใบรูปไข่ ยาวประมาณ 1 ซม. ติดทน ใบออกจากโคนต้น ไม้ต้น สูงได้ถึง 35 ม. เปลือกแตกเป็นร่องลึก ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือ
รูปหัวใจ ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว ยาว 6-20 ซม. ก้านใบยาว 2-5 ซม. ช่อดอก แกมรูปไข่ ยาว 10-20 ซม. ปลายแหลม โคนมน เบี้ยว แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่ม
ออกตามซอกใบ ยาวได้ถึง 30 ซม. รวมก้าน ใบประดับรูปไข่ ยาวประมาณ 5 มม. ด้านล่าง ต่อม 1 คู่ บนแผ่นใบด้านล่าง ต่อมมีก้าน เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-3 มม.
ร่วงเร็ว ดอกสีส้ม ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ดอกเพศผู้กลีบรวม 4 กลีบ คู่นอกรูปไข่ เส้นแขนงใบข้างละ 10-16 เส้น เรียงขนานกัน ก้านใบยาว 1-2 ซม. ช่อดอกแบบ
ยาว 1.2-1.5 ซม. คู่ในเรียวแคบ ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันที่โคน ดอกเพศเมียมี ช่อเชิงลดแยกแขนง ยาวได้ถึง 15 ซม. ดอกเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 มม. ไม่มีกลีบดอก
5 กลีบ กลีบคู่นอกรูปไข่ ยาว 1-1.2 ซม. 3 กลีบในรูปขอบขนาน ก้านเกสรเพศเมีย กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ยาว 1-2 มม. ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม ด้านในมีขนยาว
3 อัน โคนเชื่อมติดกัน ผลรูปขอบขนาน ยาว 1-1.5 ซม. ปีกล่างรูปสามเหลี่ยม เกสรเพศผู้ยาว 3-4 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ผลมี 5 ปีก หนา
ยาวประมาณ 2 ซม. ปีกคู่ข้างแคบกว่า (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ส้มกุ้ง, สกุล) กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 4-6 ซม. รวมปีก (ดูข้อมูลเพิ่มเติ่มที่ สมอ, สกุล)
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคใต้ที่เขาหลวง จังหวัดนครศรีธรรมราช ขึ้นตาม พบที่อินเดีย เนปาล พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้น
ป่าดิบเขาที่ชุ่มชื้น ความสูง 1000-1800 เมตร เป็นชนิดเดียวในสกุลส้มกุ้งของไทย ภาคใต้ ขึ้นตามป่าเต็งรัง และป่าเบญจพรรณ ความสูง 100-1000 เมตร ส่วนต่าง ๆ
ที่มีดอกสีส้ม โดยเฉพาะเปลือกมีสรรพคุณฆ่าเชื้อรา ต้านอนุมูลอิสระ ลดน�้าตาลในเลือด
เอกสารอ้างอิง เอกสารอ้างอิง
Geddes, E.T. (1928). Contributions to the Flora of Siam. Additamentum XXV. Nanakorn, W. (1985). The genus Terminalia (Combretaceae) in Thailand. Thai
Bulletin Miscellaneous Information, Kew 1928: 239-240. Forest Bulletin (Botany) 15: 97.
เยื่อกูรัม: มีขนยาวสีน�้าตาลแดงหนาแน่นตามล�าต้น และแผ่นใบด้านล่าง ช่อดอกออกตามซอกใบ ดอกสีส้ม ดอกเพศผู้
มี 4 กลีบ คู่ในเรียวแคบ (ภาพ: เขาหลวง นครศรีธรรมราช - SSi) รกฟ้า: โคนใบมน เบี้ยว ต่อมมีก้าน 1 คู่ บนแผ่นใบด้านล่าง ผลมี 5 ปีก (ภาพ: ห้วยขาแข้ง อุทัยธานี - PK)
366
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 366 3/1/16 6:09 PM