Page 382 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 382

ย่านขน
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                   พบที่อินเดียรวมหมู่เกาะอันดามัน บังกลาเทศ พม่า กัมพูชา คาบสมุทรมลายู ชวา
                บอร์เนียว และฟิลิปปินส์ ในไทยพบทางภาคกลางและภาคตะวันออกที่เขาใหญ่
                จังหวัดนครนายกและปราจีนบุรี ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง
                ที่ค่อนข้างชื้น และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 900 เมตร
                  เอกส�รอ้�งอิง
                   Ashton, P. (1982). Dipterocarpaceae. In Flora Malesiana Vol. 9: 291-326.
                   Li, X.W., J. Li and P.S. Ashton. (2007). Dipterocarpaceae in Flora of China Vol.
                      13: 48-49.
                   Pooma, R. and M. Newman. (2001). Checklist of Dipterocarpaceae in Thailand.
                      Thai Forest Bulletin (Botany) 29: 119-140.
                   Smitinand, T., J.E. Vidal and P.H. Hô. (1990). Dipterocarpaceae. Flore du
                      Cambodge, du Laos et du Vietnam 25: 16-45.

                                                                      ยำงบูเก๊ะ: กิ่งและใบแก่เกือบเกลี้ยง หลอดกลีบเลี้ยงหุ้มผลมีสันตื้น ๆ 5 สัน (ภาพ: บันนังสตา ยะลา - MP)











                  ยำงกรำด: โคนใบเว้าตื้น ช่อดอกแยกสองง่าม หลอดกลีบเลี้ยงมีครีบเป็นปีกพับไปมา (ภาพดอก: ศรีสะเกษ - PK;
                ภาพผล: ภูวัว บึงกาฬ - RP)
                                                                      ยำงยูง: กิ่งเกลี้ยง มีไข แผ่นใบเกลี้ยง ช่อดอกยาว ดอกเรียงห่าง ๆ หลอดกลีบเลี้ยงหุ้มผลมีสันครีบ 5 สัน เป็นปีกกว้าง
                                                                     (ภาพ: ยะลา - MP)









                  ยำงขน: ส่วนต่าง ๆ มีขนกระจุกยาวสีน�้าตาลแดงหนาแน่น หลอดกลีบเลี้ยงหุ้มผลเรียบ (ภาพซ้าย: กาญจนบุรี - MP;
                ภาพขวา: ชุมพร - RP)






                                                                      ยำงวำด: หลอดกลีบเลี้ยงหุ้มผลเรียบ (ภาพซ้าย: เทพา สงขลา - MP); ยำงเสียน: หลอดกลีบเลี้ยงหุ้มผลเรียบ
                                                                     ปีกสั้นขอบพับกลับ (ภาพขวา: นราธิวาส - MP)
                                                                     ย่�นขน
                                                                     Lepistemon binectariferum (Wall.) Kuntze
                                                                     วงศ์ Convolvulaceae
                                                                      ชื่อพ้อง Convolvulus binectariferus Wall.
                                                                       ไม้เถาล้มลุก ยาว 1-3 ม. น�้ำยำงสีขำว มีขนยำวสีน�้ำตำลตำมล�ำต้น แผ่นใบ
                                                                     ก้ำนใบ ช่อดอก และกลีบเลี้ยง ใบเรียงเวียน รูปหัวใจกว้าง ยาว 5-18 ซม. ขอบเรียบ
                  ยำงแข็ง: กิ่งและแผ่นใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบเรียงจรดกันใกล้ขอบใบ กลีบดอกบิดเวียน หลอดกลีบเลี้ยงหุ้มผลเรียบ
                (ภาพ: ยะลา - MP)                                     หรือจักเป็นพูตื้น ๆ ปลายแหลมหรือแหลมยาว ก้านใบยาว 3-16 ซม. ช่อดอก
                                                                     แบบช่อกระจุกคล้ำยช่อซี่ร่ม ก้านช่อสั้น ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ก้านดอก
                                                                     ยาวได้ถึง 7 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาว 5-7.5 มม. ปลำยแหลมยำว ขยายเล็กน้อย
                                                                     ในผล ดอกสีครีม รูปคนโทคอดเว้ำ ปลายบานออกเป็นแฉกตื้น ๆ 5 แฉก ปลายกลีบ
                                                                     ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม มีแถบขน เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดใกล้โคนหลอดกลีบ ก้ำนชูอับเรณู
                                                                     โคนแผ่กว้ำงคล้ำยเกล็ด โค้งเหนือรังไข่ มีปุ่มกระจาย อับเรณูมีหนำมละเอียด
                                                                     จานฐานดอกรูปถ้วย จัก 5 พู รังไข่มี 2 ช่อง ออวุลมี 4 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียสั้นมาก
                                                                     ยอดเกสรจัก 2 พู ผลแห้งแตก รูปไข่ ยาว 6-8 มม. ปลายเป็นติ่งแหลม เมล็ดสีด�า
                                                                     มีขนละเอียด
                                                                       พบที่อินเดีย บังกลาเทศ พม่า จีน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์
                                                                     และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบมากทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ความสูง
                  ยำงนำ: ตายอดมีขนหนาแน่น โคนใบเว้าตื้น หลอดกลีบเลี้ยงหุ้มผลมีสันครีบคล้ายปีก 5 สัน (ภาพดอก: ปราจีนบุรี - PT;
                ภาพผล: อุบลราชธานี - PK)                             ถึงประมาณ 900 เมตร


                362






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   362                                                                 3/1/16   6:13 PM
   377   378   379   380   381   382   383   384   385   386   387