Page 377 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 377
โมลีสย�ม สารานุกรมพืชในประเทศไทย ไมยราบ
Reevesia pubescens Mast. var. siamensis (Craib) J. Anthony
วงศ์ Malvaceae
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. กิ่งมีช่องอำกำศ กิ่งอ่อนมีขนรูปดาวสั้นนุ่มประปราย
ใบเรียงเวียน รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 6-20 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว
โคนกลมหรือเว้าตื้น เบี้ยวเล็กน้อย ก้านใบยาว 5-6.5 ซม. โคนและปลำยก้ำนบวม
ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่นแยกแขนงสั้น ๆ ที่ปลำยกิ่ง กว้าง 10-15 ซม. ใบประดับ
ขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 8-10 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 5-8 มม. ปลายแยก
โมกสยำม: กลีบดอกรูปขอบขนาน กะบัง 3 ชั้น ระหว่างกะบังมีกะบังย่อยขนาดเล็กข้างละ 1 อัน ผลมีช่องอากาศ เป็น 5 กลีบตื้น ๆ รูปไข่ ปลายแหลม ดอกสีขำวอมชมพู มี 5 กลีบ รูปใบพาย ยาว
(ภาพ: เขาสก สุราษฎร์ธานี - PK)
1-2.5 ซม. มีก้านสั้น ๆ เกสรเพศผู้ 15 อัน แยกเป็น 5 กลุ่ม ก้ำนชูอับเรณูเชื่อมติด
ก้ำนรังไข่เป็นเส้ำเกสร บำนออกโอบรังไข่ ยาว 1.2-3.5 ซม. อับเรณูไร้ก้ำน รังไข่มี
5 ช่อง มีขนหนาแน่น แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียสั้นมาก ยอดเกสร
จัก 5 พู เหนียว ผลแห้งแตก รูปไข่กลับ เปลือกแข็ง ยาว 2.5-5 ซม. มีห้าเหลี่ยม
มีขนรูปดาวสั้นนุ่ม เมล็ดยาวประมาณ 2.5 ซม. รวมปีก
พบที่จีนตอนใต้ และพม่า ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย
ภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่ปราจีนบุรี และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี เพชรบุรี
ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร ส่วน var.
pubescens พบที่ภูเมี่ยง จังหวัดพิษณุโลก แผ่นใบด้านล่างมีขนหนาแน่น มีนวล
ช่อดอกแคบกว่า กลีบดอกด้านนอกมีขน
สกุล Reevesia Lindl. เดิมอยู่ภ�ยใต้วงศ์ Sterculiaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย
Helicteroideae มีประม�ณ 25 ชนิด พบในอเมริก�กล�งและเอเชีย ส่วนม�กพบในจีน
ชื่อสกุลตั้งต�มนักธรรมช�ติวิทย�ช�วอังกฤษ John Reeves (1774-1856)
โมกเหลือง: ดอกสีเหลือง กะบัง 3 ชั้น ยาวไม่เท่ากัน ปลายจักชายครุย (ภาพซ้ายและภาพขวาบน: เลย - PK);
โมกเหลืองหอม: กะบังหน้ากลีบดอกและกะบังระหว่างกลีบดอกยาวเท่า ๆ กัน (ภาพขวาล่าง: นครศรีธรรมราช - SG) เอกส�รอ้�งอิง
Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 617-621.
โมกใหญ่ Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China
Holarrhena pubescens Wall. ex G. Don Vol. 12: 313, 317.
วงศ์ Apocynaceae
ชื่อพ้อง Holarrhena antidysenterica (L.) Wall. ex A. DC.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบ ช่อดอก และกลีบเลี้ยงด้านนอก
ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 4.5-30 ซม. ปลำยแหลมหรือแหลมยำว แผ่นใบบำง
มีขนสั้นนุ่มหรือเกลี้ยง ก้านใบยาว 2-4 มม. ช่อดอกส่วนมำกออกตำมซอกใบใกล้
ปลำยกิ่ง ยาว 4-10 ซม. ใบประดับยาว 1-4 มม. ร่วงเร็ว ก้านดอกสั้นมาก กลีบเลี้ยง
รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 2-4 มม. ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม หลอดกลีบดอก
ยาว 0.8-1.4 ซม. กลีบรูปไข่กลับหรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 1-2 ซม. ก้านชูอับเรณู
โคนมีขน อับเรณูยาวประมาณ 1.5 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาว 1.8-2.5 มม. รวม
โมลีสยำม: ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่นแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง เส้าเกสรเรียวยาว ผลแห้งแตกรูปไข่กลับ เปลือกแข็ง
ยอดเกสร ผลออกเป็นคู่ ห้อยลง มีช่องอำกำศกระจำย ยาว 18-34 ซม. เมล็ดเกลี้ยง มีห้าเหลี่ยม (ภาพดอก: แก่งกระจาน เพชรบุรี - PK; ภาพผล: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - SSi)
กระจุกขนจ�านวนมาก ยาว 2.3-4.5 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ พุดทุ่ง, สกุล)
พบที่แอฟริกา อินเดีย เนปาล บังกลาเทศ พม่า จีน และภูมิภาคอินโดจีน ใน ไมยร�บ, สกุล
ไทยพบทุกภาคยกเว้นภาคใต้ตอนล่าง ความสูงถึงประมาณ 1100 เมตร เปลือก Mimosa L.
มีสรรพคุณรักษาอาการบิดและท้องเสีย แก้พิษไข้ วงศ์ Fabaceae
เอกส�รอ้�งอิง ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม หรือไม้พุ่มรอเลื้อย มีหนำมตำมล�ำต้นและข้อ หูใบรูปเส้นด้าย
Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 75. หรือรูปใบหอก ร่วงเร็ว ใบประกอบ 2 ชั้น ใบย่อยเรียงตรงข้ำม ไวต่อกำรสัมผัส
ไม่มีต่อมตำมก้ำนใบ ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น รูปกลมหรือรี ออกเดี่ยว ๆ เป็นคู่
หรือเป็นกระจุกตามซอกใบ ดอกไร้ก้าน กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็นแฉก
ขนาดเล็ก 4 กลีบ กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด มี 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 4-8 อัน
แยกกัน รังไข่ไร้ก้านหรือเกือบไร้ก้าน ผลเป็นฝักตรง เมล็ดมีพลูโรแกรมเป็นวง
สกุล Mimosa มีประม�ณ 480 ชนิด ส่วนใหญ่พบในอเมริก�ใต้ ในไทยพบเป็น
วัชพืช 3 ชนิด ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�กรีก “mimos” ก�รแสดง หม�ยถึงก�รไวต่อ
ก�รสัมผัสของใบ
ไมยร�บ
Mimosa pudica L.
ไม้ล้มลุก ทอดเลื้อยตามพื้นดิน บางครั้งสูงได้ถึง 1 ม. มีขนหยำบตำมล�ำต้น
แกนใบประกอบ ก้ำนใบ แผ่นใบด้ำนล่ำง และช่อดอก แกนกลางใบรวมก้านยาว
โมกใหญ่: ช่อดอกส่วนมากออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง กลีบดอกเวียนทับด้านขวาในตาดอก (ภาพ: ตาก - RP) 2.5-5 ซม. ใบประกอบย่อยมี 2 คู่ เรียงชิดกันคล้ำยรูปฝ่ำมือ ยาว 1.5-7 ซม. ใบย่อย
357
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 357 3/1/16 6:11 PM