Page 376 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 376
โมกเหลือง
โมกเหลือง สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Wrightia viridiflora Kerr
ไม้พุ่ม อาจสูงได้ถึง 5 ม. ใบรูปรี ยาว 3-15 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง ก้านใบยาว
2-6 มม. ช่อดอกยาว 1-4 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ขนาดเล็ก
ดอกสีเหลืองหรืออมเขียว หลอดกลีบดอกยาว 1-2 มม. กลีบรูปรีหรือรูปขอบขนาน
ยาว 4-8 มม. กะบัง 3 ชั้น กะบังหน้ำกลีบดอกเชื่อมติดโคนกลีบดอก ปลำยจัก
ชำยครุย ยาว 2.3-4.4 มม. กะบังระหว่ำงกลีบดอกปลำยแยก 2 แฉก ยาว 1.5-3 มม.
กะบังย่อย ยาว 0.8-1.5 มม. เกสรเพศผู้ติดบนปากหลอดกลีบดอก อับเรณูยาว
0.6-1 ซม. รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว 3-3.3 มม. รวมยอดเกสร ผลกำงออก โมกใบบำง: แผ่นใบมีขนสั้นนุ่ม กะบังชั้นเดียว ติดระหว่างกลีบดอก ปลายเป็นติ่ง ยาวประมาณ 1 มม. อับเรณูมีขน
เกลี้ยง มีช่องอำกำศประปรำย ยาว 16-20 ซม. เมล็ดยาวประมาณ 2.5 ซม. สั้นนุ่ม (ภาพ: cultivated - RP)
กระจุกขนยาวประมาณ 2 ซม.
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่ตาก นครสวรรค์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ที่ีเลย ภาคกลางที่ราชบุรี สระบุรี และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตาม
หุบเขาหินปูนที่ค่อนข้างชุ่มชื้น ความสูง 100-800 เมตร คล้ายกับโมกเหลืองหอม
W. laevis Hook. f. ที่กะบังหน้ากลีบดอกและกะบังระหว่างกลีบดอกยาวเท่า ๆ กัน
และดอกมีกลิ่นหอม เขตการกระจายพันธุ์กว้าง พบที่จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
และมาเลเซีย ถึงออสเตรเลียตอนบน ในไทยพบทางภาคใต้ตามเขาหินปูนเตี้ย ๆ
ที่สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และพังงา โมกชมพู: Wrigthia sp. (ภาพซ้าย: cultivated - RP); โมกน�้ำผึ้ง: Wrightia sp. (ภาพขวา: cultivated - RP)
เอกส�รอ้�งอิง
Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 42-43, 79-90.
________. (2007). A new species of Wrightia (Apocynaceae: Apocynoideae) from
Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 35: 80-85.
________. (2010). Three new species of Wrightia (Apocynaceae: Apocynoideae)
from Thailand. Gardens’ Bulletin Singapore 61(2): 369-378.
Middleton, D.J. and T. Santisuk. (2001). A new species of Wrightia (Apocynaceae:
Apocynoideae) from Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 29: 1-10.
โมกพะวอ: ดอกสีเขียวอมเหลือง กะบังติดกันเป็นวงคล้ายรูปถ้วย ขอบจักซี่ฟัน รังไข่เกลี้ยง ผลเรียงชิดปลายเชื่อม
ติดกัน มีช่องอากาศหนาแน่น (ภาพ: พะวอ ตาก - PK)
โมกแดง: ดอกสีแดงหรือขาว ดอกบานรูปกรวย ปลายกลีบแหลมยาว กะบังเรียง 2 ชั้น กะบังบนกลีบดอกแนบติด
กลีบดอก ผลกางออก เกลี้ยง (ภาพดอกสีแดงและผล: เขาปู่เขาย่า พัทลุง - PK; ภาพดอกสีขาว: cultivated - RP)
โมกมัน: ดอกสีขาวอมเขียว กลีบรูปขอบขนาน กะบังเรียง 2 ชั้น จักเป็นคลื่น ผลติดกัน มีช่องอากาศ (ภาพดอก:
cultivated - PK; ภาพผล: ห้วยยาง ประจวบคีรีขันธ์ - RP)
โมกนเรศวร: ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกสั้น ๆ ที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงรูปไข่กว้าง ปลายมน กลีบดอกปลายตัด
กะบัง 3 ชั้น (ภาพ: ทุ่งใหญ่นเรศวร ตาก - PK)
โมกรำชินี: ไม้ต้นขนาดเล็กแตกกอ ดอกรูปดอกเข็ม กะบัง 3 ชั้น ปลายแยกเป็นแฉก ปลายแฉกป็นตุ่ม ผลแยกกัน
โมกบ้ำน: ช่อดอกห้อยลง ดอกขนาดเล็ก ไม่มีกะบัง มีทั้งดอกลาและดอกซ้อน (ภาพ: cultivated - RP) กางออก ปลายกว้าง มีช่องอากาศหนาแน่น (ภาพ: พระพุทธบาท สระบุรี - RP)
356
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 356 3/1/16 6:11 PM