Page 371 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 371

สกุล Hunteria Roxb. มี 12 ชนิด พบในแอฟริก�และเอเชีย ในไทยมีเพียงชนิดเดียว   มูกเบี้ย  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  เมี่ยงผี
                       ชื่อสกุลตั้งต�มนักพฤกษศ�สตร์ช�วสกอตแลนด์ William Hunter (1755-1812)
                                                                        Euphorbia bifida Hook. & Arn.
                      เอกส�รอ้�งอิง                                     วงศ์ Euphorbiaceae
                       Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 24-25.
                                                                           ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 70 ซม. ล�ำต้นมักมีสีแดง เกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่ม หูใบรูป
                                                                        สามเหลี่ยมขนาดเล็กเชื่อมติดกัน ปลายเรียบหรือแฉกลึก ใบรูปขอบขนำนถึงรูปแถบ
                                                                        ยาว 1.2-2.3 ซม. ปลำยมีติ่งแหลม โคนเบี้ยว ข้ำงหนึ่งรูปหัวใจ ขอบเรียบหรือ
                                                                        จักฟันเลื่อย แผ่นใบมีปุ่มใสกระจาย คล้ายมีนวล เส้นโคนใบข้ำงละ 1 เส้น เส้นแขนงใบ
                                                                        ข้างละ 8-10 เส้น ก้านใบยาว 1-2 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก ช่อย่อยเรียงแน่น
                                                                        แบบช่อกระจุกซ้อน 5-10 ช่อ ก้านช่อยาว 2-4 มม. ใบประดับรูปถ้วย สูงประมาณ
                                                                        1 มม. มีต่อม 4 ต่อม สีแดงอมน�้ำตำล รยำงค์เป็นแผ่นคล้ำยรูปใบพำย สีขำว
                                                                        หรือชมพู ผลเกลี้ยง จัก 2-3 พู ยาวประมาณ 2 มม. มีก้านสั้น ๆ เมล็ดยาวประมาณ
                                                                        1.4 มม. ผิวบุ๋มกระจาย (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ น�้านมราชสีห์, สกุล)
                                                                           พบที่จีน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลีย ขึ้นตามที่โล่ง ป่าเต็งรัง
                                                                        เขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 850 เมตร ใบมีความผันแปรสูง
                                                                          เอกส�รอ้�งอิง
                                                                           Esser, H.-J. (2005). Euphorbiaceae (Euphorbia). In Flora of Thailand Vol. 8(1): 269.
                      มูกเขำ: ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุก ดอกบานรูปดอกเข็ม ผลคล้ายผลสดติดเป็นคู่ รูปรี สุกสีส้ม
                    (ภาพ: เกาะสุรินทร์ พังงา - SSi)

                    มูกเตี้ย
                    Munronia humilis (Blanco) Harms
                    วงศ์ Meliaceae
                      ชื่อพ้อง Plagianthus humilis Blanco
                       ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 40 ซม. มีรำกสะสมอำหำร ยาวได้ถึง 20 ซม. มีขนสั้นนุ่ม
                    และขนรูปดำวตำมตำยอด กิ่งอ่อน ใบอ่อน เส้นแขนงใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอก
                    ด้ำนนอก และผล ใบเรียงเวียน รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 3-8 ซม.
                    ปลำยแหลมยำว โคนเรียวสอบ ขอบจักซี่ฟันตื้น ๆ ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. ช่อดอก
                    แบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกตามซอกใบใกล้ยอด ยาว 1-1.5 ซม. ใบประดับ
                    และใบประดับย่อยรูปลิ่มแคบ ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปใบหอก ยาวประมาณ
                    5 มม. ติดทน ดอกสีขำว รูปดอกเข็ม ยาว 3-4 ซม. มี 5 กลีบ แฉกลึกประมาณ 1 ซม.   มูกเบี้ย: ล�าต้นส่วนมากมีสีแดง ปลายหูใบแฉกลึก ใบรูปขอบขนานถึงรูปแถบ โคนเบี้ยว เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น
                    รูปใบหอกกลับ หลอดแผ่นเกสรเพศผู้ปลำยจักเป็นพู มีรยำงค์รูปเส้นด้ำย พับงอกลับ   ช่อดอกย่อยเรียงแน่นแบบช่อกระจุกซ้อน ใบประดับรูปถ้วย รยางค์เป็นแผ่นสีขาว ผลจัก 2-3 พู (ภาพ: กรุงเทพฯ - RP)
                    โค้งเข้ำ อับเรณู 10 อัน ติดระหว่ำงจัก สีส้ม จำนฐำนดอกเป็นหลอดบำง ๆ หุ้มรังไข่   เมี่ยงผี
                    รังไข่มีขนสั้นนุ่ม มี 5 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียเป็นหลอด  Pyrenaria diospyricarpa Kurz
                    ยาว 5-7 ซม. ปลายจัก 5 พู ผลแห้งแตก รูปกรวยกลับ มี 5 สัน ยาวประมาณ 1 ซม.
                    เมล็ดไม่มีเยื่อหุ้ม                                 วงศ์ Theaceae
                                                                          ชื่อพ้อง Pyrenaria garrettiana Craib
                       พบที่พม่า และฟิลิปปินส์ ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงใต้
                    และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้งหรือป่าเบญจพรรณที่มีหินปูน ความสูงถึงประมาณ   ไม้ต้น สูง 5-20 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง เส้นกลางใบด้านล่าง และก้านดอก
                    500 เมตร                                            ใบเรียงเวียน รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่ ยาว 8-20 ซม. ขอบเรียบหรือจักฟันเลื่อย
                                                                        แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 0.5-1.2 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุก 2-4 ดอก
                       สกุล Munronia Wight มี 5 ชนิด พบเฉพ�ะในเอเชียเขตร้อน ในไทยมี 2 ชนิด   ตำมซอกใบ ใบประดับคล้ำยใบ 2 อัน รูปหอกกลับ ยาว 1-2 ซม. ก้านดอกยาว
                       อีกชนิดคือ กระดึงเพียก M. pinnata (Wall.) W. Theob. ใบประกอบมีใบย่อย 1-4 คู่   2.5-4.5 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่ปลายมน ติดทน ด้านนอกมีขนคล้ายไหม
                       ก�รกระจ�ยพันธุ์กว้�งกว่�มูกเตี้ย ในไทยส่วนม�กพบท�งภ�คตะวันตกเฉียงใต้   กลีบดอกโคนเชื่อมติดกัน มี 5-6 กลีบ รูปไข่กลับ ด้านนอกมีขนคล้ายไหม เกสรเพศผู้
                       ชื่อสกุลตั้งต�มนักพฤกษศ�สตร์ช�วอังกฤษ Sir William Munro (1818-1880)  จ�านวนมาก ก้ำนชูอับเรณูวงนอกโคนเชื่อมติดกับกลีบดอก รังไข่มีขนก�ำมะหยี่ มี
                                                                        5 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ก้ำนเกสรเพศเมีย 5 อัน ที่โคนมีขนก�ามะหยี่
                      เอกส�รอ้�งอิง                                     ผลผนังชั้นในแข็ง รูปไข่กลับ ยาวประมาณ 4.5 ซม. ปลำยมีรอยบุ๋ม มี 5 สัน
                       Peng, H. and B. Bartholomew. (2008). Meliaceae (Munronia). In Flora of China   ผนังชั้นนอกหนำฉ�่ำน�้ำ เมล็ดรูปไข่ ยาวประมาณ 2 มม. สีน�้าตาล
                          Vol. 11: 118.
                                                                           พบที่จีนตอนใต้ และพม่า ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และ
                                                                        ภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา และป่าดิบชื้น ความสูง 100-2350 เมตร
                                                                        แยกเป็น var. camelliiflora (Kurz) S. X. Yang กิ่งและแผ่นใบเกลี้ยง ก้านเกสร
                                                                        เพศเมียเชื่อมติดกัน

                                                                           สกุล Pyrenaria Blume มีประม�ณ 26 ชนิด พบเฉพ�ะในเอเชียเขตร้อน ในไทย
                                                                           มี 2 ชนิด อีกชนิดคือ มะเฟืองป่� P. jonquieriana Pierre ex Laness. รังไข่มี
                                                                           3 ช่อง ปล�ยผลไม่มีรอยบุ๋ม พบที่ล�วและเวียดน�ม ในไทยพบที่ภูวัว จังหวัด
                                                                           บึงก�ฬ ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�กรีก “pyren” หม�ยถึงเมล็ดเปลือกแข็งมีเนื้อหุ้ม
                                                                          เอกส�รอ้�งอิง
                      มูกเตี้ย: ใบเดี่ยว ดอกรูปดอกเข็ม หลอดแผ่นเกสรเพศผู้ปลายจักเป็นพู มีรยางค์รูปเส้นด้าย อับเรณูสีส้ม (ภาพซ้าย:   Keng, H. (1972). Theaceae (Pyrenaria). In Flora of Thailand Vol. 2(2): 150.
                    ภูกระดึง เลย - SSi); กระดึงเพียก: ใบประกอบมีใบย่อย 1-4 คู่ (ภาพขวา: ห้วยยาง ประจวบคีรีขันธ์ - RP)  Min, T. and B. Bartholomew. (2007). Theaceae. In Flora of China Vol. 12: 366-478.

                                                                                                                    351






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   351                                                                 3/1/16   6:09 PM
   366   367   368   369   370   371   372   373   374   375   376