Page 366 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 366

มะเหลี่ยมหิน


                มะเหลี่ยมหิน        สารานุกรมพืชในประเทศไทย
                Rhus chinensis Mill.
                วงศ์ Anacardiaceae
                  ชื่อพ้อง Rhus javanica L. var. chinensis (Mill.) T. Yamaz.
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. แยกเพศต่ำงต้นหรือมีดอกสมบูรณ์เพศร่วมต้น
                กิ่งมีช่องอำกำศ มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก ก้านดอก และ
                กลีบเลี้ยงด้านนอก ใบประกอบปลำยคี่ เรียงเวียน ก้านใบประกอบยาว 5-15 ซม.
                แกนกลำงช่วงปลำยมีปีกแคบ ๆ โคนก้ำนป่อง ใบย่อย 3-6 คู่ รูปรี รูปขอบขนาน หรือ
                แกมรูปไข่ ยาว 3.5-12 ซม. โคนเบี้ยว ขอบจักฟันเลื่อย เส้นแขนงใบข้ำงละ
                10-18 เส้น เรียงขนำนกัน เส้นใบย่อยแบบขั้นบันได ก้านใบสั้นหรือไร้ก้าน ช่อดอก
                แบบช่อแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ช่อดอกเพศผู้ยาว 30-40 ซม. ช่อดอกเพศเมีย
                สั้นกว่า ก้านดอกยาวประมาณ 1 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ขนาดเล็ก ดอกสีเหลืองอ่อน
                มี 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่กลับ ยาวประมาณ 2 มม. ขอบมีขนครุย เกสรเพศผู้   มังเคร่ช้ำง: ใบเรียงตรงข้าม เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น ดอกออกเป็นช่อกระจุก ฐานดอกรูปถ้วยมีขนแข็งเอนกระจาย
                5 อัน จำนฐำนดอกเป็นวง รังไข่มีช่องเดียว ออวุลมีเม็ดเดียว ก้านเกสรเพศเมียสั้น   เกสรเพศผู้มีสองขนาด (ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ - RP)
                มี 3 อัน ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลผนังชั้นในแข็ง เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-5 มม. ปลำย
                มีโคนก้ำนเกสรเพศเมียติดทน ผลแก่สีแดง                 มังต�น
                                                                     Schima wallichii (DC.) Korth.
                   พบที่อินเดีย จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และสุมาตรา ในไทย
                ส่วนมากพบทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มักขึ้นตาม   วงศ์ Theaceae
                ป่าเต็งรังผสมสน และป่าดิบเขา ความสูง 900-1300 เมตร ส่วนต่าง ๆ มีสรรพคุณ  ชื่อพ้อง Gordonia wallichii DC.
                เป็นยาปฏิชีวนะ ลดสารอนุมูลอิสระ แก้แพ้ เมล็ดและผลกินแก้ปวดท้อง ท้องร่วง   ไม้ต้น สูงได้ถึง 35 ม. กิ่งมีช่องอากาศ มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน ใบเรียงเวียน รูปรี
                                                                     ถึงรูปใบหอก ยาว 4.5-18 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนเรียวสอบถึงกลม
                   สกุล Rhus L. มีประม�ณ 250 ชนิด ส่วนม�กพบในเขตอบอุ่น ในไทยมี 5 ชนิด   ขอบเรียบเป็นคลื่น หรือจักฟันเลื่อย ก้านใบยาว 0.5-3.5 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือ
                   ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�กรีก “rhous” ซึ่งม�จ�กคำ�ว่� “rhodo” หรือ “rhodos” สีแดง   แบบช่อกระจะสั้น ๆ ออกตามซอกใบ ก้านดอกยาว 2-4 ซม. ใบประดับย่อย 2 ใบ
                   หม�ยถึงผลที่มีสีแดง เป็นชื่อกรีกโบร�ณที่ใช้เรียกพืชสกุลนี้   ติดบนกึ่งกลำงก้ำนดอก ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปรีกว้าง ยาวประมาณ 3 มม.
                                                                     มีขนครุย ดอกสีขาว มี 5 กลีบ รูปไข่กลับ ปลายกลม ยาว 1.5-2 ซม. เกสรเพศผู้
                  เอกส�รอ้�งอิง
                   Chayamarit, K. (2010). Anacardiaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 312-317.  จ�านวนมาก ติดที่โคนกลีบดอก ยาว 0.8-1 ซม. อับเรณูติดไหวได้ รังไข่มี 5 ช่อง
                   Min, T. and A. Barfod. (2008). Anacardiaceae. In Flora of China Vol. 11: 346.  แต่ละช่องมีออวุล 2-6 เม็ด มีขนคล้ายไหม ก้านเกสรเพศเมียยาว 5-7 มม. ยอดเกสรจัก
                                                                     5 พู เป็นตุ่ม ผลแห้งแตกตำมรอยประสำน เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-4 ซม. เกลี้ยง
                                                                     หรือมีขนคล้ายไหม มักมีช่องอำกำศ เมล็ดแบนรูปคล้ายไต ยาว 0.8-1 ซม. รวมปีก
                                                                       พบที่อินเดีย เนปาล ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ลาว เวียดนาม และคาบสมุทรมลายู
                                                                     ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าโปร่งชายทะเล ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึง
                                                                     ประมาณ 2500 เมตร มีความผันแปรสูง โดยเฉพาะขอบใบที่มีทั้งเรียบ จักมน หรือ
                                                                     จักซี่ฟัน เคยแยกออกเป็น 2 ชนิดย่อย รากและผลใช้บรรเทาพิษแมลงป่อง เปลือก
                                                                     มีสารท�าให้ระคายเคือง ใช้เบื่อปลา

                                                                       สกุล Schima Reinw. ex Blume อยู่ภ�ยใต้เผ่� Gordonieae จำ�นวนชนิดยัง
                                                                       ไม่แน่นอน อ�จมีได้ถึง 20 ชนิด ในไทยอ�จมีชนิดเดียว ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�กรีก
                  มะเหลี่ยมหิน: ใบประกอบปลายคี่ เรียงเวียน ขอบจักฟันเลื่อย ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ผลแก่สีแดง   “skiasma” ร่มเง� ต�มลักษณะวิสัยที่มีทรงพุ่มหน�แน่น
                (ภาพ: ภูหินร่องกล้า เพชรบูรณ์ - SSi)
                มังเคร่ช้�ง                                           เอกส�รอ้�งอิง
                                                                       Keng, H. (1972). Theaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 144-145.
                Melastoma sanguineum Sims                              Min, T. and B. Bartholomew. (2007). Theaceae. In Flora of China Vol. 12: 422.
                วงศ์ Melastomataceae
                   ไม้พุ่ม สูง 1-5 ม. กิ่งเป็นเหลี่ยม มีขนแข็งเอนตามกิ่ง แผ่นใบทั้งสองด้าน ก้านดอก
                และฐานดอก ใบรูปใบหอก ยาว 8-20 ซม. ปลายแหลมยาว โคนแหลมหรือกลม
                เส้นโคนใบข้ำงละ 2-3 เส้น ก้านใบยาว 0.8-2 ซม. ดอกออกเป็นช่อกระจุก 1-3 ดอก
                ใบประดับรูปไข่ ยาวประมาณ 1 ซม. ด้านนอกเป็นเกล็ด ฐานดอกยาว 1-1.5 ซม.
                ขนยำว 0.6-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 0.6-1 ซม. ขอบมีขนครุย
                ดอกสีม่วงอมชมพู กลีบรูปไข่กลับ ยาว 2-4.5 ซม. เกสรเพศผู้วงนอกอับเรณูยาว
                1.2-1.5 ซม. สีม่วง รยางค์โค้งงอ ยาว 1.6-1.8 ซม. วงในอับเรณูยาวประมาณ 1 ซม.
                สีม่วงหรือสีเหลือง รยางค์สั้น รังไข่ปลายมีขนแข็ง ผลรูประฆัง ยาว 1.5-2.5 ซม.
                                                                      มังตำน: ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือแบบช่อกระจะสั้น ๆ ออกตามซอกใบ ก้านดอกยาว เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ผลแห้งแตก
                แตกไม่เป็นระเบียบ เนื้อในสีเหลือง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ โคลงเคลง, สกุล)  เกลี้ยงหรือมีขนคล้ายไหม (ภาพ: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - SSi)
                   พบที่จีนตอนใต้ พม่า คาบสมุทรมลายู สุมาตรา บอร์เนียว ชวา ฟิลิปปินส์ ใน
                ไทยพบทุกภาค ขึ้นตามพื้นที่เป็นหินหรือดินทรายริมล�าธาร ในป่าดิบแล้ง และ  มังเร่ทร�ย, สกุล
                ป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร คล้ายกับโคลงเคลง M. malabathricum   Oxyspora DC.
                L. ที่ฐานดอกมีเกล็ดแบนราบ                            วงศ์ Melastomataceae
                  เอกส�รอ้�งอิง                                        ไม้พุ่ม กิ่งอ่อนมีขนต่อมและขนรูปดาวขนาดเล็ก ใบเรียงตรงข้ำม เส้นโคนใบ
                   Renner, S.S., G. Clausing, N. Cellinese and K. Meyer. (2001). Melastomataceae.   ข้ำงละ 1-3 เส้น มีเส้นใบตำมขวำงชัดเจน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงที่
                      In Flora of Thailand Vol. 7(3): 447.           ปลำยกิ่ง กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 4 กลีบ (ชนิดในไทย) ใบประดับและ

                346






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   346                                                                 3/1/16   6:08 PM
   361   362   363   364   365   366   367   368   369   370   371