Page 362 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 362
มะยมแก้ว
มะยมแก้ว สารานุกรมพืชในประเทศไทย มะยมใบแข็ง
Cyclocodon celebicus (Blume) D. Y. Hong Phyllanthus ridleyanus Airy Shaw
วงศ์ Campanulaceae ไม้พุ่มรอเลื้อย ใบรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 6-17 ซม. ปลายแหลมหรือเป็นติ่งแหลม
ชื่อพ้อง Campanumoea celebica Blume, Codonopsis celebica (Blume) Miq., โคนเบี้ยว ขอบม้วนนูน ก้านใบยาว 3-4 มม. ดอกออกเป็นกระจุกตำมซอกใบ
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1.5 ม. ใบเรียงตรงข้ำม รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว ดอกเพศผู้มีประมำณ 10 ดอก ดอกเพศเมียมี 2-3 ดอก ดอกเพศผู้ก้ำนดอก
3.5-9 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่มกว้างหรือกลม ขอบจักซี่ฟัน มีขนประปรายตาม ยำว 5-6 มม. ดอกเพศเมียก้ำนยำวประมำณ 1 มม. กลีบเลี้ยง 6 กลีบ ในดอกเพศผู้
เส้นแขนงใบ ก้านใบยาว 4-5 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่ปลำยกิ่ง ยาวประมาณ 1.5 มม. ดอกเพศเมียยาวประมาณ 5 มม. ขอบจักชายครุย สันกลีบ
บำงครั้งมีดอกเดียว ใบประดับคล้ำยใบขนำดเล็ก ใบประดับย่อยรูปแถบ ก้านดอกยาว ด้านนอกมีติ่งขนแหลม 3 กลีบปลำยเรียวแหลม 3 กลีบปลำยเรียวรูปเส้นด้ำย
1-6 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ติดบนรังไข่ที่โคน กลีบรูปแถบ ยาว 3-4 มม. เรียบหรือ ยำว 5-6 มม. จานฐานดอกมี 6 ต่อม รูปไข่กลับ เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้ำนชูอับเรณู
จักซี่ฟันห่ำง ๆ ติดทน ดอกสีขาวหรืออมฟ้า รูปถ้วย ยาว 1-1.2 ซม. ปลายแยก เชื่อมติดกันที่โคน รังไข่มีขน ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 0.2 มม. ยอดเกสร
5 แฉก รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านชูอับเรณูยาว ยาวประมาณ 0.1 มม. ผลแห้งแตก จัก 3 พู ตื้น ๆ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ
ประมาณ 2.5 มม. รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 2.5 มม. แยก 5 แฉก 1 ซม. ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ผักหวานดง, สกุล)
แฉกยำวประมำณ 2 มม. บำนออก ผลสดมีหลายเมล็ด สีขาว กลม แบนด้านบน
พบที่คาบสมุทรมลายู ในไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี
เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก ประจวบคีรีขันธ์ ภาคใต้ที่ระนอง สุราษฎร์ธานี ขึ้นตามริมล�าธารในป่าดิบแล้ง และ
พบที่อินเดีย บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และนิวกินี ป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร คล้ายกับชนิด P. lingulatus Beille
ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคเหนือ ภาคกลาง (เขาใหญ่) ภาคตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกสรเพศผู้มี 6 อัน และรังไข่เกลี้ยง พบเฉพาะที่ลาว และภาคเหนือของไทยที่
และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบเขา หรือบนเขาหินปูน ความสูง 550-1700 เมตร เชียงใหม่
สกุล Cyclocodon Griff. ex Hook. f. & Thomson มีประม�ณ 4 ชนิด พบใน เอกส�รอ้�งอิง
ประเทศแถบหิม�ลัย ภูมิภ�คอินโดจีนและม�เลเซีย นิวกินี ในไทยมี 2 ชนิด อีก Chantaranothai, P. (2007). Euphorbiaceae (Phyllanthus). In Flora of Thailand
ชนิดคือ C. parviflorus (Wall. ex. A. DC.) Hook. f. & Thomson ส่วนต่�ง ๆ ของดอก Vol. 8(2): 429, 498-499.
มีจำ�นวน 4 และกลีบเลี้ยงติดบนก้�นดอกใต้รังไข่ พบที่แม่ฮ่องสอน และน่�น
เอกส�รอ้�งอิง
de Wilde, W.J.J.O. and B.E.E. Duyfjes. (2014). Campanulaceae. In Flora of
Thailand Vol. 11(4): 512-514.
Hong, D. and T.G. Lammers. (2011). Campanulaceae (Cyclocodon). In Flora
of China Vol. 19: 527.
มะยมฉัตร: มีขุยสีน�้าตาลแดงตามกิ่ง ขอบกลีบเลี้ยงจักชายครุย ก้านผลยาว ผลมีขนยาวหนาแน่น (ภาพ: เขาใหญ่
ปราจีนบุรี; ภาพซ้าย - MP, ภาพขวา - SSi)
มะยมใบแข็ง: ดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบ ดอกเพศผู้จ�านวนมาก กลีบเลี้ยงปลายเรียวแหลมรูปเส้นด้าย ผลจัก
3 พู ตื้น ๆ ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม (ภาพ: น�้าตกวิภาวดี สุราษฎร์ธานี - RP)
มะยมป่�
มะยมแก้ว: ใบเรียงตรงข้าม ขอบจักซี่ฟัน ช่อกระจุกส่วนมากมีดอกเดียว กลีบเลี้ยงติดบนรังไข่ที่โคน ขอบจัก ติดทน Ailanthus triphysa (Dennst.) Alston
ผลกลม แบนด้านบน (ภาพ: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - SSi)
วงศ์ Simaroubaceae
มะยมฉัตร ชื่อพ้อง Adenanthera triphysa Dennst.
Phyllanthus pulchroides Beille ไม้ต้น สูงได้ถึง 45 ม. แยกเพศต่ำงต้น ใบประกอบปลายคี่ มีใบย่อย 6-30 คู่
วงศ์ Phyllanthaceae รูปไข่ แกมรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 5-26 ซม. ปลายแหลมยาว ปลำยมีต่อม
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 1 ม. มีขุยสีน�้ำตำลแดงตำมกิ่ง และก้ำนใบ ใบรูปขอบขนาน เป็นขนคล้ำยปลำยมนหรือเว้ำตื้น โคนเบี้ยว ก้านใบย่อยยาว 5-7 มม. ใบแห้งสีแดง
ช่อดอกแยกแขนงยาว 20-60 ซม. มีขนประปราย ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว
หรือรูปใบหอก ยาว 12-26 ซม. ปลายแหลม โคนเบี้ยว ขอบมีสันนูน แผ่นใบเกลี้ยง ก้านดอกยาว 2-4 มม. กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ๆ มี 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม
ก้านใบสั้นมาก ช่อดอกออกป็นกระจุกตามซอกใบ ดอกเพศผู้มี 2-6 ดอก ออก
ช่วงโคน ดอกเพศเมียมีดอกเดียว ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 5-7 มม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ขนาดเล็ก ด้านนอกมีขนยาว กลีบดอก 5 กลีบ เรียงจรดกันในตำดอก กลีบรูปไข่
รูปไข่ ยาว 1-2.5 มม. ขอบจักชำยครุย จำนฐำนดอกเป็นต่อม 4 ต่อม เกสรเพศผู้ ยาว 3-5 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน ติดใต้จำนฐำนดอก พับงอในตำดอก ก้านชูอับเรณู
4 อัน เชื่อมติดกันที่โคน ดอกเพศเมียก้ำนดอกยำว 1-2.5 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาว 3-6 มม. โคนมีขนยาว ลดรูปในดอกเพศเมีย ส่วนมากมี 3 คาร์เพล โคนมัก
รูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มม. ขอบจักชำยครุย ขยายในผล จำนฐำนดอก เชื่อมติดกัน เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียแยกหรือเชื่อมติดกันที่โคน ยอดเกสรจัก 3 พู
เป็นต่อม 5 ต่อม ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรยาวประมาณ 0.5 มม. ผลแห้งแตก รูปโล่ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 มม. มีประมาณ 3 ผลย่อย มีปีกเดียว ปลายมน
เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 ซม. มีขนยำวหนำแน่น เมล็ดรูปสามเหลี่ยมมน ยาว 2-3.5 มม. ยาว 4.5-8 ซม. แต่ละผลย่อยมีเมล็ดเดียว แบน
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ผักหวานดง, สกุล) พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม คาบสมุทรมลายู สุมาตรา
พบที่เวียดนาม ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ภูกระดึง ภูหลวง นิวกินี และออสเตรเลีย ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จังหวัดเลย และภาคกลางที่เขาใหญ่ จังหวัดปราจีนบุรี ขึ้นตามป่าดิบเขา ความสูง ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร น�้ายาง
1100-1500 เมตร หรือชันมีกลิ่นหอมใช้ท�าธูป ไล่แมลง
342
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 342 3/1/16 6:07 PM