Page 363 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 363

สกุล Ailanthus Desf. มีประม�ณ 10 ชนิด พบในเอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เก�ะ  มะระขี้นก  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  มะรุม
                       แปซิฟิก ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�พื้นเมืองหมู่เก�ะโมลุกกะ ของ  Momordica charantia L. forma abbreviata (Ser.) W.J. de Wilde &
                       อินโดนีเซีย หม�ยถึงสูงเสียดฟ้� ต�มลักษณะวิสัย
                                                                            Duyfjes
                      เอกส�รอ้�งอิง                                     วงศ์ Cucurbitaceae
                       Nooteboom, H.P. (1981). Simaroubaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 439-441.
                                                                           ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 4 ม. มีขนสั้นนุ่ม แยกเพศร่วมต้น ใบรูปฝ่ำมือ 5-9 พู
                                                                        เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-10 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนรูปหัวใจ ขอบจัก
                                                                        ฟันเลื่อยห่าง ๆ ปลายเป็นติ่ง แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ก้านใบยาว 1.5-5 ซม.
                                                                        ไม่มีต่อม ช่อดอกมีดอกเดียว ใบประดับเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1.5 ซม. ติดใต้กึ่งกลำง
                                                                        ก้ำนช่อ ช่อดอกเพศผู้ยาว 0.5-5 ซม. ก้านดอกยาว 2-6 ซม. ฐานดอกยาว 2-4 มม.
                                                                        กลีบเลี้ยงรูปไข่แคบ ๆ ยาว 4-6 มม. กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 1-2 ซม. ก้านชูอับเรณูสั้น
                                                                        อับเรณูติดกัน ดอกเพศเมียก้านดอกยาวได้ถึง 10 ซม. ดอกขนาดเล็กกว่าดอกเพศผู้
                                                                        รังไข่มีปุ่ม ก้านเกสรเพศเมียสั้น ผลรูปรี ยาว 2-11 ซม. ปลายแหลมยาว ผิวเป็นตุ่ม
                                                                        แหลม มีสันตำมแนวยำว 8-10 สัน แตกเป็น 3 ส่วน ก้านผลยาว 3.5-15 ซม.
                                                                        เมล็ดแบน ยาว 0.8-1.5 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ฟักข้าว, สกุล)
                      มะยมป่ำ: ใบประกอบปลายคี่ ใบแห้งสีแดง ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ผลมี 3 ผลย่อย มีปีก ปลายมน (ภาพดอก:
                    ห้วยขาแข้ง อุทัยธานี, ภาพผล: สุโขทัย; - SSi)           พบในแอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย ขึ้นตามชายป่าหรือเขาหินปูน ผลอ่อน
                                                                        และยอดอ่อนรับประทานเป็นผักสด มีสรรพคุณลดน�้าตาลในเลือด แก้โรคตับอักเสบ
                    มะเย�เหลี่ยม                                        ม้ามอักเสบ และปวดเข่า หรือเป็นยาระบายอ่อน ๆ ส่วน forma charantia หรือ
                    Vernicia montana Lour.                              มะระ ผลเรียวยาว ผิวเป็นปุ่มทู่
                    วงศ์ Euphorbiaceae                                    เอกส�รอ้�งอิง
                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. แยกเพศร่วมต้น หูใบรูปรี ยาว 3-5 มม. ร่วงเร็ว   de Wilde, W.J.J.O. and B.E.E. Duyfjes. (2008). Cucurbitaceae. In Flora of
                    ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่ เรียบหรือจัก 3-5 พู ยาว 6-27 ซม. ปลายแหลมยาว   Thailand Vol. 9(4): 464-467.
                    โคนกลม ตัด หรือเว้าตื้น เส้นโคนใบข้างละ 1-2 เส้น ก้านใบยาว 4.5-23 ซม.
                    ปลำยก้ำนใบติดโคนใบมีต่อมรูปกระบอง 2 ต่อม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง
                    คล้ายช่อเชิงหลั่น ช่อดอกเพศผู้ยาว 10-25 ซม. ก้านดอกยาว 0.7-1.2 ซม. ช่อดอก
                    เพศเมียยาว 3-12 ซม. ก้านดอกยาว 3-6 มม. กลีบเลี้ยงแยกเป็น 2-3 กลีบ
                    ขนำดไม่เท่ำกัน ยาว 1-1.5 ซม. ดอกสีขาว กลีบรูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน ยาว
                    1.5-3.5 ซม. ก้านกลีบยาว 6-8 มม. เกสรเพศผู้ 8-14 อัน วงในยำวกว่ำวงนอก
                    จำนฐำนดอกเป็นต่อม 5-6 ต่อม แยกกัน รังไข่ 3-5 ช่อง ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน
                    ยาว 0.5-1 ซม. ปลายแยกเป็น 2 แฉกตื้น ๆ ผลรูปไข่กว้าง ยาว 4-6 ซม. มี 3-5 สัน
                    ปลำยแหลม ผิวย่น มีขนประปราย เมล็ดรูปไข่กลับ ยาว 2-3 ซม. มีตุ่มและสันนูน
                                                                          มะระขี้นก: ใบแฉกรูปฝ่ามือ ขอบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ ช่อดอกมีดอกเดียว ดอกเพศผู้ก้านดอกสั้น ผลมีตุ่มแหลม เป็นสัน
                       พบที่จีนตอนใต้ พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายทางภาคเหนือ   ตามแนวยาว (ภาพ: กรุงเทพฯ - RP)
                    ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง และ
                    ป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร เมล็ดมีพิษ ให้น�้ามันใช้ในอุตสาหกรรม  มะรุม
                    ผลิตสี และน�้ามันชักเงา เช่นเดียวกับมะเยา           Moringa oleifera Lam.

                                                                        วงศ์ Moringaceae
                       สกุล Vernicia Lour. อยู่ภ�ยใต้วงศ์ย่อย Crotonoideae มี 3 ชนิด ในไทยมีพืช
                       พื้นเมืองชนิดเดียว ส่วนมะเย� V. fordii (Hemsl.) Airy Shaw เป็นไม้ประดับหรือ  ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ใบประกอบ 3 ชั้น เรียงเวียน ยาวได้ถึง 60 ซม. มีต่อม
                       ปลูกเพื่อสกัดน้ำ�มันจ�กเมล็ด มีถิ่นกำ�เนิดที่จีนตอนใต้ พม่� และเวียดน�มตอนบน   ที่โคนก้ำนใบและแผ่นใบ ต่อมมีก้ำน ใบย่อยมี 4-6 คู่ รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 1-2 ซม.
                       ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�ละติน “vernix” ชักเง� หม�ยถึงพืชมีเมล็ดให้น้ำ�มัน  ใบอ่อนมีขนประปราย ปลำยกลมหรือเว้ำตื้น โคนกลมหรือรูปลิ่ม ก้านใบสั้น ช่อดอก
                                                                        แยกแขนง ออกตามซอกใบ ยาวได้ถึง 30 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก ก้ำนดอกเทียม
                      เอกส�รอ้�งอิง                                     ยำว 0.7-1.5 ซม. ก้ำนดอกสั้น กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปใบหอกขนาดเล็ก พับงอกลับ
                       Stuppy, W., P.C. van Welzen, P. Klinratana and M.C.T. Posa. (2007).
                          Euphorbiaceae (Vernicia). In Flora of Thailand Vol. 8(2): 588-590.  ดอกสีครีมคล้ำยรูปดอกถั่ว มี 5 กลีบ รูปใบพาย ยาว 1-2 ซม. กลีบหลังตั้งขึ้น
                                                                        4 กลีบล่ำงพับงอกลับ เกสรเพศผู้ 5 อัน เป็นหมัน 5 อัน เรียงคนละวง โคนมีขน
                                                                        รังไข่มีช่องเดียว มีก้าน พลำเซนตำตำมแนวตะเข็บ 3 แนว มีขน ออวุลจ�านวนมาก
                                                                        ก้านเกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรเป็นตุ่มขนาดเล็ก ผลแห้งแตก มี 3 ซีก รูปทรงกระบอก
                                                                        เป็นสัน ยาวได้ถึง 50 ซม. เมล็ดกลมแกมรูปสามเหลี่ยม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-1.5 ซม.
                                                                        มีปีกบำง กว้าง 0.5-1 ซม.
                                                                           มีถิ่นก�าเนิดในอินเดีย และปากีสถาน ปลูกทั่วไปในเอเชียเขตร้อน ผลและใบอ่อน
                                                                        ใช้ปรุงอาหาร เมล็ดให้น�้ามัน ใช้จุดไฟตะเกียง ใช้ในอุตสาหกรรมความงามและ
                                                                        น�้าหอม ในอดีตเคยใช้เป็นน�้ามันหล่อลื่นในนาฬิกา เปลือกและเมล็ดมีสรรพคุณ
                                                                        เป็นยาปฏิชีวนะ

                                                                           สกุล Moringa Adans. เป็นสกุลเดียวของวงศ์ มี 13 ชนิด พบในแอฟริก�
                                                                           ม�ด�กัสก�ร์ และเอเชีย ในไทยเป็นไม้ต่�งถิ่นชนิดเดียว ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�
                                                                           ทมิฬหรือม�ล�ย�ลัม “murunga” หรือภ�ษ�สันสกฤต “marungi” ที่ใช้เรียก
                                                                           มะรุม ในอินเดีย ในแอฟริก�ใช้เมล็ดจ�กพืชสกุลนี้หล�ยชนิดฆ่�เชื้อแบคทีเรีย
                      มะเยำเหลี่ยม: ปลายก้านใบติดโคนใบมีต่อมรูปกระบอง 2 ต่อม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงคล้ายช่อเชิงหลั่น   ในน้ำ�ก่อนบริโภค
                    ผลรูปไข่กว้าง มีสันนูน 3-5 สัน ผิวย่น (ภาพ: ดอยสุเทพ เชียงใหม่ - PT)

                                                                                                                    343






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   343                                                                 3/1/16   6:07 PM
   358   359   360   361   362   363   364   365   366   367   368