Page 367 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 367

ใบประดับย่อยขนาดเล็ก ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงขอบตัด จักตื้น ๆ ติดทน เกสรเพศผู้ 8 อัน   มันกะท�ด  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  มันกะทาด
                    เรียง 2 วง อับเรณูมีรูเปิดที่ปลำย แกนอับเรณูมีรยำงค์ใต้อับเรณู มีเดือยขนำดเล็ก   Dioscorea bulbifera L.
                    ฐานดอกรูปถ้วยหรือรูปทรงกระบอก รังไข่เชื่อมติดฐานดอก พลาเซนตารอบแกนร่วม
                    ผลแห้งแตกช่วงปลำยแล้วแตกตำมยำว เมล็ดรูปลิ่ม จ�านวนมากขนาดเล็ก  วงศ Dioscoreaceae
                                                                           ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 25 ม. ดอกแยกเพศ หัวใต้ดินกลมหรือรูปทรงกระบอก
                       สกุล Oxyspora มีประม�ณ 50 ชนิด พบในเอเชียและหมู่เก�ะแปซิฟิก ในไทย  ยาว 10-20 ซม. ล�าต้นเกลี้ยง ไม่มีหนาม ใบเรียงเวียน รูปไข่กว้างหรือเกือบกลม
                       มี 7 ชนิด ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�กรีก “oxys” แหลม และ “sporos” เมล็ด ต�ม  เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-7 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเว้าลึก เส้นโคนใบ 5-11 เส้น ก้านใบ
                       ลักษณะของเมล็ด                                   ยาว 5-12 ซม. มีร่องตรงกลาง ขอบบำงคล้ำยครีบ มีหัวย่อย (bulbils) ตำมซอกใบ
                                                                        กลม รูปไข่ หรือรูปทรงกระบอก ช่อดอกแบบช่อหำงกระรอก ออกตามซอกใบ 2-6 ช่อ
                    มังเร่ทร�ย                                          ห้อยลง ยาว 4-10 ซม. ก้านช่อสั้น ช่อดอกเพศผู้ออก 1-2 ดอก ต่อกระจุก ดอกเพศเมีย
                    Oxyspora balansae (Cogn.) J. F. Maxwell             ออกเดี่ยว ๆ ดอกสีขาวอมเขียวหรือชมพู กลีบรวม 6 กลีบ เรียง 2 วง รูปขอบขนาน
                      ชื่อพ้อง Allomorphia balansae Cogn.               ยาว 1.5-2.8 มม. เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดที่โคนกลีบ เป็นหมันในดอกเพศเมีย ฐานดอก
                       ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม. กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยมมีขุยสีน�้ำตำลแดง ใบรูปขอบขนานหรือ  ยาวประมาณ 2.5 มม. มีครีบตำมยำว 3 ครีบ รังไข่ใต้วงกลีบ มี 3 ช่อง แต่ละช่อง
                                                                        มีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียปลายจัก 3 พู ผลแห้งแตกเป็น 3 ซีก รูปขอบขนาน
                    รูปใบหอก ยาว 8-16 ซม. ปลายแหลมยาว โคนแหลมหรือรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ  มีปีกรอบ 3 ปีก ยาว 2.5-5 ซม. รวมปีก เมล็ดรูปรี แบน ยาว 3-5 มม. ปลำยมีปีก
                    หรือจักฟันเลื่อยละเอียด แผ่นใบด้านล่างมีขนประปราย เส้นโคนใบข้ำงละ 1-2 เส้น   บำงรูปขอบขนำน ยาว 1-1.5 ซม.
                    ก้านใบยาว 1.5-3.5 ซม. ช่อดอกแยกแขนงสั้น ๆ คล้ำยช่อเชิงลด ยาว 8-12 ซม.
                    มีขนประปราย ก้านดอกยาว 1-2 มม. ฐานดอกรูปทรงกระบอกหรือคล้ายรูปคนโท ยาว   พบในอเมริกา แอฟริกา และเอเชียเขตร้อน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง
                    4-6 มม. ดอกสีชมพู กลีบรูปไข่กลับ ยาว 3-4 มม. อับเรณูยาวประมาณ 3 มม. ผลรูปรี   ชายป่า ความสูงจนถึง 1400 เมตร หัวใต้ดินและหัวย่อยใช้ปรุงอาหารคล้ายกลอย
                    ยาว 5-7 มม. มีริ้ว 8 ริ้ว                           D. hispida Dennst. มีสารแอลคาลอยด์ และซาโปนินมีพิษ ทางภาคกลางเรียกว่า
                       พบที่ลาว เวียดนามตอนบน และภาคเหนือของไทยที่เชียงใหม่ น่าน ขึ้นตาม  ว่านพระฉิม
                    ชายป่าดิบเขา ความสูง 700-1500 เมตร                     สกุล Dioscorea L. มี 450-600 ชนิด ในไทยมีประม�ณ 42 ชนิด หล�ยชนิด
                                                                           เป็นพืชอ�ห�ร เช่น กลอย D. hispida Dennst. มันมือเสือ D. esculenta (Lour.)
                    มังเร่หิน                                              Burkill ที่ลำ�ต้นและกิ่งมีหน�ม หัวรูปทรงกระบอก หรือรูปนิ้วมือในต้นที่ปลูก และ
                    Oxyspora curtisii King                                 มันเส� D. alata L. ลำ�ต้นมีเหลี่ยมเป็นปีก หัวใต้ดินและชั้นผิวมีหล�ยรูปแบบ
                                                                           ชื่อสกุลตั้งต�มน�ยแพทย์ช�วกรีกในช่วงศตวรรษที่ 1 Pedianos Dioscorides
                       ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยมหรือมีครีบคล้ำยปีก ใบรูปรีหรือรูปไข่
                    ยาว 10-25 ซม. ปลายแหลม โคนแหลมหรือกลม ขอบจักฟันเลื่อยละเอียด เส้นโคนใบ  เอกส�รอ้�งอิง
                    ข้ำงละ 2 เส้น ก้ำนใบมีปีก ส่วนมากยาว 1-4 ซม. หรือยาวได้ถึง 7 ซม. ช่อดอกยาว   Wilkin, P. and C. Thapyai. (2009). Dioscoreaceae. In Flora of Thailand Vol.
                    10-20 ซม. ก้ำนดอกเป็นสี่เหลี่ยมคล้ำยปีก ช่อดอกย่อยคล้ำยช่อซี่ร่ม ก้านดอก  10(1): 1-140.
                    ยาวได้ถึง 1.5 มม. ฐานดอกรูปทรงกระบอกหรือรูปไข่ ยาว 5-8 มม. ดอกสีชมพู
                    หรือขาว กลีบรูปไข่กลับ ยาวประมาณ 3.5 มม. เกสรเพศผู้ยาว 5-7 มม. ผลคล้าย
                    รูปคนโทหรือรูปทรงกระบอก ยาว 6-8 มม. มีริ้ว 8 ริ้ว
                       พบที่ลาว เวียดนามเหนือ และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทาง
                    ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย และภาคใต้ที่ยะลา นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบแล้ง
                    และป่าดิบชื้น ความสูงระดับต�่า ๆ

                      เอกส�รอ้�งอิง
                       Renner, S.S., G. Clausing, N. Cellinese and K. Meyer. (2001). Melastomataceae.
                          In Flora of Thailand Vol. 7(3): 456-458.





                                                                          มันกะทำด: ช่อดอกแบบช่อหางกระรอก ห้อยลง มีหัวย่อยตามซอกใบ ผลรูปขอบขนาน มีปีกรอบ 3 ปีก (ภาพซ้ายบน:
                                                                        ทุ่งแสลงหลวง พิษณุโลก - CT; ภาพซ้ายล่าง: ดอยสามพี่น้อง เชียงใหม่ - CT; ภาพขวา: ซับลังกา ลพบุรี - MP)






                      มังเร่ทรำย: ใบเรียงตรงข้าม เส้นโคนใบข้างละ 1-2 เส้น ช่อดอกแยกแขนงสั้น ๆ คล้ายช่อเชิงลด (ภาพ: ดอยภูคา น่าน - TB)













                      มังเร่หิน: กิ่งและก้านใบมีปีก เส้นโคนใบข้างละ 2 เส้น มีเส้นใบตามขวางชัดเจน ช่อดอกย่อยคล้ายช่อซี่ร่ม เกสรเพศผู้   มันมือเสือ: ล�าต้นแตกกิ่งและมีหนาม ข้อมีหนามยาว หัวรูปทรงกระบอกซึ่งต่างจากลักษณะของหัวที่เป็นพืชปลูก
                    8 อัน ยาวเท่า ๆ กัน (ภาพ: ยะลา - RP)                รูปคล้ายนิ้วมือ (ภาพซ้ายบนและล่าง ภาพขวาบน: แม่วงก์ นครสวรรค์ - YD; ภาพขวาล่าง: cultivated - CT)

                                                                                                                    347






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   347                                                                 3/1/16   6:08 PM
   362   363   364   365   366   367   368   369   370   371   372