Page 372 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 372
เมี่ยงหลวง
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ยาว 0.6-1.5 ซม. วงนอกเชื่อมติดกันที่โคน รังไข่มีขนสั้นนุ่ม
ก้ำนเกสรเพศเมียหนำ ปลำยแยกเป็น 3 แฉก ผลแห้งแตก รูปรีกว้างเกือบกลม ยาว
1.5-2.5 ซม. มี 1 หรือ 3 ช่อง แต่ละช่องมีเมล็ดเดียว เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม.
พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบ
ทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูง 800-2000 เมตร
แยกเป็น var. confusa (Craib) T. L. Ming หรือเดิมชื่อ C. oleifera C. Abel
var. confusa (Craib) Sealy ใบและกลีบดอกใหญ่กว่า ผลมี 3 ช่อง ส่วน var.
kissii เกสรเพศผู้ยาวกว่า และผลมีช่องเดียว
สกุล Camellia L. มีม�กกว่� 120 ชนิด พบเฉพ�ะในเอเชีย โดยเฉพ�ะจีน ในไทย
มี 6 ชนิด รวมทั้งเมี่ยง C. sinensis (L.) Kuntze var. assamica (J. W. Mast.)
Kitam. นิยมปลูกท�งภ�คเหนือของไทย ดอกออกเป็นกระจุก 1-3 ดอก ก้�นดอกย�ว
ชื่อสกุลตั้งต�มนักบวชและเภสัชกรช�วเช็ก Georg Joseph Kamel (1661-1706)
เมี่ยงผี: ใบเรียงเวียน ขอบจักฟันเลื่อย แผ่นใบหนา ผลรูปไข่กลับ ปลายผลมีรอยบุ๋ม มีสันนูน 5 สัน (ภาพซ้าย:
ทองผาภูมิ กาญจนบุรี - SSi); มะเฟืองป่ำ: ปลายผลไม่มีรอยบุ๋ม (ภาพขวา: ภูวัว บึงกาฬ - MP) เอกส�รอ้�งอิง
Keng, H. (1972). Theaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 147-148.
เมี่ยงหลวง Min, T. and B. Bartholomew. (2007). Theaceae. In Flora of China Vol. 12: 441-442.
Polyspora axillaris (Roxb. ex Ker Gawl.) Sweet ex G. Don
วงศ์ Theaceae
ชื่อพ้อง Camellia axillaris Roxb. ex Ker Gawl., Gordonia axillaris (Roxb. ex
Ker Gawl.) D. Dietr.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบเรียงเวียน รูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับหรือรูปใบหอกกลับ
ยาว 12-18 ซม. แผ่นใบหนำ เกลี้ยงทั้งสองด้ำน ขอบใบเรียบ เส้นแขนงใบไม่
ชัดเจน ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ตำมซอกใบ ก้านดอกยาว
2-3 มม. ใบประดับ 6-7 อัน ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่กว้าง
ยาว 1-1.5 ซม. ด้านนอกมีขน ดอกสีขาว มี 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม เชื่อมติดกันที่โคน
กลีบรูปไข่กลับกว้าง ยาว 3.5-5.5 ซม. ปลายกลีบเว้า เกสรเพศผู้จ�านวนมาก
ก้ำนชูอับเรณูวงนอกเชื่อมติดโคนกลีบดอก ยาว 1.5-3 ซม. อับเรณูยาวประมาณ 2 มม.
รังไข่มีขนสั้นหนานุ่ม ก้านเกสรเพศเมียยาว 1.5-2 ซม. มีขนหนาแน่น ผลแห้งแตก
รูปทรงกระบอกปลำยแหลม มี 5 ช่อง ยาว 3-8 ซม. แกนกลางติดทน มีหลายเมล็ด
แบน เบี้ยว เมล็ดยาว 1.5-2 ซม. รวมปีกที่ปลายเมล็ด เมี่ยงอีอำม: ดอกออกเดี่ยว ๆ ก้านดอกสั้นมากหรือไร้ก้าน ใบประดับและกลีบเลี้ยงคล้ายกัน ปลายกลีบดอกเว้าตื้น
พบที่จีนตอนใต้ ลาว และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ผลแห้งแตก รูปรีกว้างเกือบกลม (ภาพซ้ายบนและภาพขวา: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี, ภาพซ้ายล่าง:
ที่ภูกระดึง และภูหลวง จังหวัดเลย ขึ้นริมล�าธารในป่าดิบเขา ความสูง 1200-1300 เมตร ภูหลวง เลย; - SSi)
สกุล Polyspora Sweet ex G. Don มีประม�ณ 40 ชนิด พบเฉพ�ะในเอเชีย ชื่อ
สกุลม�จ�กภ�ษ�กรีก “polys” ม�ก และ “sporos” เมล็ด หม�ยถึงมีหล�ยเมล็ด
เอกส�รอ้�งอิง
Bartholomew, B. and T. Min. (2005). New combination in Chinese Polyspora
(Theaceae). Novon 15(2): 264-266.
Keng, H. (1972). Theaceae (Gordonia). In Flora of Thailand Vol. 2(2): 143-144.
Min, T. and B. Bartholomew. (2007). Theaceae. In Flora of China Vol. 12: 418. เมี่ยง: ดอกออกเป็นกระจุก 1-3 ดอก ก้านดอกยาว (ภาพ: cultivated - PT)
เมื่อย, สกุล
Gnetum L.
วงศ์ Gnetaceae
ไม้เถาเนื้อแข็ง หรือไม้ต้น ส่วนใหญ่แยกเพศต่ำงต้น กิ่งโป่งตำมข้อ ไม่มีหูใบ
ใบเรียงตรงข้ำม ขอบเรียบ ช่อดอกแบบช่อเชิงลด (strobilus) ออกเดี่ยว ๆ
หรือแยกแขนงคล้ำยช่อกระจุกซ้อน ออกตำมซอกใบ กิ่ง หรือล�ำต้น โคนมีใบประดับ
เมี่ยงหลวง: แผ่นใบหนา เกลี้ยงทั้งสองด้าน ขอบใบเรียบ เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน กลีบดอก 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม 1 คู่ เชื่อมติดกัน ดอกออกรอบข้อบนส่วนแผ่เป็นวง (collar) แต่ละวงใบประดับ
ผลรูปทรงกระบอก ปลายแหลม (ภาพ: ภูกระดึง เลย - PK)
เชื่อมติดกัน ดอกไร้ก้าน ดอกเพศผู้จ�านวนมาก ติดบนกลีบรวมหนำคล้ำยถ้วย
เมี่ยงอีอ�ม เกสรเพศผู้ 2 อัน ยื่นพ้นกลีบรวม ดอกเพศเมียมีน้อยกว่าและส่วนแผ่เป็นวงเรียง
Camellia kissii Wall. ห่างกว่า ออวุลมีกลีบรวมหนำหุ้ม ผนังออวุลด้ำนในยื่นเป็นหลอด ด้ำนนอกหนำ
วงศ์ Theaceae เชื่อมติดกลีบรวมพัฒนำหุ้มเมล็ด สุกสีแดง เหลือง หรือส้ม ชั้นในแข็ง
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน และก้านใบ ใบเรียงเวียน สกุล Gnetum พืชเมล็ดเปลือย เป็นสกุลเดียวของวงศ์ มีประม�ณ 40 ชนิด พบใน
รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 5-13 ซม. ปลายแหลมยาว ขอบจักฟันเลื่อย แผ่นใบหนำ แอฟริก� อเมริก�ใต้ และเอเชียเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทยมีประม�ณ 8 ชนิด
ด้านล่างมีขนประปราย ก้านใบยาว 4-8 มม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ตำม หล�ยชนิดมีสรรพคุณด้�นสมุนไพร เปลือกเหนียวใช้ทำ�เชือก ใบและเมล็ดกินได้
ซอกใบใกล้ปลำยกิ่ง ก้ำนดอกสั้นมำกหรือไร้ก้ำน ใบประดับและกลีบเลี้ยงคล้ำยกัน โดยเฉพ�ะ G. gnemon L. หรือเมียง และ var. tenerum Markgr. หรือผักเมี่ยง
มี 7-9 อัน รูปรีกว้างเกือบกลม ยาว 2-8 มม. ร่วงเร็ว ด้านนอกมีขนละเอียดประปราย ที่เป็นไม้พุ่ม แผ่นใบบ�ง ออกเดี่ยว ๆ หรือแตกแขนงเดียว ผลรูปขอบขน�น
ดอกสีขำว มี 5-8 กลีบ รูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 0.8-3 ซม. ปลายมนหรือเว้าตื้น ปล�ยมีติ่งแหลม ชื่อสกุลม�จ�กคำ�ว่� “gnemon” ที่เป็นคำ�ระบุชนิดของเมียง
352
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 352 3/1/16 6:10 PM