Page 373 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 373

เมื่อย                                                         สารานุกรมพืชในประเทศไทย  โมก
                    Gnetum montanum Markgr.
                       ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาวกว่า 10 ม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 10-25 ซม.
                    ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ใบแห้งสีด�ำ ช่อดอกเพศผู้ส่วนมำกแยกแขนง ยาว 2.5-6 ซม.
                    ก้านช่อสั้น ช่อแขนงยาว 2-3 ซม. ส่วนแผ่เป็นวงมี 13-18 วง มีดอกเพศเมียที่เป็นหมัน
                    ช่อดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุก ก้านช่อยาว 2-3 ซม. ช่อยาว 2-3 ซม.
                    ดอกเพศเมียมี 5-8 ดอก ในแต่ละวง เมล็ดรูปรี ยาว 1.2-1.5 ซม. สุกเปลือกหุ้มสีแดง
                    ก้านหนา ยาว 2-3 มม.
                                                                          เมื่อยดูก: ช่อดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ เป็นกระจุกตามล�าต้น ตั้งขึ้น ส่วนที่แผ่เป็นวงมีขนอุยสีน�้าตาลหนาแน่น
                       พบที่อินเดีย เนปาล ภูฏาน พม่า จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบ  เมล็ดไร้ก้าน รูปรี (ภาพ: บางสะพาน ประจวบคีรีขันธ์ - RP)
                    ทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1800 เมตร
                    เมื่อยดำ�
                    Gnetum cuspidatum Blume

                       ไม้เถาเนื้อแข็งขนาดใหญ่ ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 10-21 ซม. ก้านใบยาว
                    0.7-1.5 ซม. ใบแห้งสีน�้ำตำล ช่อดอกไม่แยกแขนง ออกเป็นกระจุกตำมเถำ ห้อยลง
                    ดอกเพศผู้จ�านวนมากในแต่ละวง มีดอกเพศเมียที่เป็นหมันประมาณ 10 ดอก
                    ช่อดอกเพศเมียขยายในผล มีขนละเอียด แกนช่อยำวได้ถึง 15 ซม. เมล็ดไร้ก้ำน
                    มี 5-7 เมล็ดในแต่ละวง รูปรี ยาว 2-3 ซม. เป็นมันวาว
                                                                          ผักเมี่ยง: ไม้พุ่ม แผ่นใบบาง ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกเดี่ยว ๆ หรือแตกแขนงเดียว ผลรูปขอบขนาน ปลายมีติ่งแหลม
                       พบที่กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย นิวกินี ในไทยส่วนมากพบทางภาคใต้   (ภาพซ้าย: คลองนาคา ระนอง - SSi; ภาพขวา: ยะลา - RP)
                    ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร
                                                                        โมก, สกุล
                    เมื่อยดูก                                           Wrightia R. Br.
                    Gnetum macrostachyum Hook. f.                       วงศ์ Apocynaceae
                       ไม้เถาเนื้อแข็ง ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 13-16 ซม. ปลายมีติ่งแหลม   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น น�้ายางสีขาว มักมีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง และ
                    เส้นแขนงใบโค้งจรดกัน ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกเพศผู้ออกเดี่ยว ๆ   ช่อดอก กิ่งแก่ส่วนมำกมีช่องอำกำศ ใบเรียงตรงข้ำม ปลายส่วนมากแหลมยาว
                    ตามซอกใบ ยาวได้ถึง 5 ซม. ส่วนแผ่เป็นวงมีขนอุยหนำแน่นสีน�้ำตำล ยำวเป็น  ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกตามปลายกิ่ง กลีบดอกและกลีบเลี้ยงอย่างละ 5 กลีบ
                    สองเท่ำของแผ่นวง ดอกเพศเมียที่เป็นหมันมีประมาณ 10 ดอก ช่อดอกเพศเมีย  โคนกลีบเลี้ยงด้ำนในมีเกล็ดต่อมส่วนมำกแผ่กว้ำง ดอกรูปดอกเข็มหรือรูปกรวย
                    ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุกตามล�าต้น ตั้งขึ้น ยาวได้ถึง 9 ซม. ดอกเพศเมียมีประมาณ   กลีบเรียงซ้อนทับด้ำนซ้ำยในตำดอก แผ่นกลีบส่วนมากมีปุ่มขนกระจาย ส่วนมำก
                    10 ดอกในแต่ละวง มีขนอุยสีน�้ำตำลหนำแน่น ติดทน เมล็ดไร้ก้ำน รูปรี ยาวได้ถึง   มีกะบัง แยกเป็นกะบังหน้ำกลีบดอก (antepetalous) ที่มักเชื่อมติดกลีบดอก
                    2 ซม. สุกเปลือกหุ้มสีแดงคล�้า                       กะบังระหว่ำงกลีบดอก (alternipetalous) หรือมีกะบังย่อยอยู่ระหว่ำงกะบังทั้ง
                       พบที่พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยพบแทบทุกภาค   2 ชั้น (alternate corona lobes) ที่ส่วนมำกออกเดี่ยว ๆ ขนำดเล็ก เกสรเพศผู้
                    ยกเว้นภาคเหนือ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้นใกล้ล�าธาร ความสูง 100-900 เมตร   5 อัน ติดบนปากหลอดหรือภายในหลอดกลีบดอก ก้ำนชูอับเรณูสั้น อับเรณูรูป
                                                                        หัวลูกศร ส่วนมำกมีขนสั้นนุ่ม แนบติดยอดเกสรเพศเมีย ไม่มีจำนฐำนดอก
                      เอกส�รอ้�งอิง                                     รังไข่มี 2 คาร์เพล แยกกันหรือติดกันเรียวยาวเป็นก้านเกสรเพศเมีย ออวุลจ�านวนมาก
                       Fu, L., Y.F. Yu and M.G. Gilbert. (1999). In Flora of China Vol. 4: 102, 104.  ผลเป็นฝักคู่ รูปกระสวย ติดกันหรือแยกกัน เมล็ดรูปแถบ ที่โคนมีกระจุกขน
                       Phengklai, C. (1975). Gnetaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(3): 204-210.  ชี้เข้ำหำโคนฝัก

                                                                           สกุล Wrightia มีประม�ณ 24 ชนิด พบในแอฟริก� เอเชีย และออสเตรเลีย
                                                                           ในไทยมีประม�ณ 15 ชนิด และเป็นไม้ต่�งถิ่นประดับหนึ่งชนิด คือ พุดพิชญ�
                                                                           W. antidysenterica (L.) R. Br. ชื่อสกุลตั้งต�มนักพฤกษศ�สตร์ช�วอังกฤษ
                                                                           William Wright (1735-1819)
                                                                        โมก
                                                                        Wrightia pubescens R. Br.
                                                                           ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ใบรูปรี รูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนาน ยาว 3-12 ซม.
                      เมื่อย: ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแยกแขนง ออกตามล�าต้น (ภาพ: ดอยสุเทพ เชียงใหม่ - VC)
                                                                        ก้านใบยาว 3-8 มม. ช่อดอกยาว 4-7.5 ซม. ก้านดอกยาว 0.4-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่
                                                                        ยาว 1-5 มม. ดอกสีครีมหรืออมชมพูอ่อน มีกลิ่นหอม หลอดกลีบยาว 3-7 มม.
                                                                        กลีบรูปขอบขนาน ยาว 0.8-2.7 ซม. กะบัง 2 ชั้น มีขนสั้นนุ่ม กะบังหน้ำกลีบดอก
                                                                        แนบติดกลีบดอกประมำณกึ่งหนึ่ง จักลึก กะบังระหว่ำงกลีบดอกรูปแถบ สั้นกว่ำ
                                                                        เล็กน้อย ปลำยแยก 2 แฉก อับเรณูยาว 7-9 มม. รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมีย
                                                                        ยาว 0.8-1 ซม. รวมยอดเกสร ผลเรียงติดกัน แยกกันเมื่อแตก ผิวไม่มีช่องอำกำศ
                                                                        มีขนละเอียด ยาว 10-38 ซม. เมล็ดยาว 1-1.6 ซม. กระจุกขนยาว 1-4 ซม.
                                                                           พบที่จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน ภูมิภาคมาเลเซีย และออสเตรเลีย ในไทย
                                                                        พบทุกภาค ขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร
                                                                        คล้ายกับโมกมัน W. arborea (Dennst.) Mabb. ที่ฝักมีช่องอากาศชัดเจน และดอก
                      เมื่อยด�ำ: ช่อดอกออกเดี่ยว ๆ เป็นกระจุกตามล�าต้น ห้อยลง เมล็ดไร้ก้าน มี 5-7 เมล็ดในแต่ละวง เป็นมันวาว
                    (ภาพ: เขาหลวง นครศรีธรรมราช - SSi)                  ไม่มีกลิ่นหอม สารสกัดจากรากและเปลือกใช้รักษาวัณโรคต่อมน�้าเหลืองบริเวณคอ

                                                                                                                    353






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   353                                                                 3/1/16   6:10 PM
   368   369   370   371   372   373   374   375   376   377   378