Page 378 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 378
ไมยราบขาว
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
มี 12-25 คู่ รูปขอบขนานหรือรูปเคียว ยาว 0.5-1 ซม. ก้านช่อดอกยาว 2.5-4 ซม. ยมดอย
ดอกไร้ก้าน รูประฆังแคบ ยาวประมาณ 2 มม. กลีบดอกมนกลม ยาว 0.5-0.8 มม. Sarcotheca laxa (Ridl.) R. Knuth
เกสรเพศผู้ 4 อัน รังไข่เกลี้ยง ฝักรูปขอบขนาน ยาว 1.5-1.8 ซม. ขอบมีขนแข็ง วงศ์ Oxalidaceae
มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ น�าเข้าโดยกรมทางหลวงเพื่อช่วยคลุมหน้าดิน แยกเป็น ขื่อพ้อง Connaropsis laxa Ridl., Sarcotheca glabra (Ridl.) R. Knuth
var. hispida Brenan กลีบดอกมีขน และ var. unijuga (Duchass. & Walp.)
Griseb. กลีบดอกเกลี้ยง ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบเรียงเวียน รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก
ยาว 5-23 ซม. ปลำยแหลมยำวหรือยำวคล้ำยหำง ก้านใบยาว 0.5-2.5 ซม. ช่อดอก
ไมยร�บข�ว แบบช่อแยกแขนง ยาวได้ถึง 30 ซม. ช่อย่อยแบบช่อกระจุกสั้น ๆ ก้านดอกยาว
0.5-1 มม. ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันที่โคน รูปขอบขนาน
Mimosa diplotricha C. Wright ex Sauvalle ยาว 1-2 มม. ติดทน กลีบดอก 5 กลีบ รูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ ยาว 4-7 มม. มี
ชื่อพ้อง Mimosa invisa Mart. ex Colla ก้านกลีบสั้น ๆ เกสรเพศผู้อันสั้น 5 อัน อันยำว 5 อัน เชื่อมติดกันที่โคน ในดอก
ไม้พุ่มทอดเลื้อยหนาแน่น สูงได้ถึง 1 ม. ล�ำต้นเป็นสี่เหลี่ยม สันเหลี่ยมมี ที่ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยาว 1-2.5 มม. และ 2-3.5 มม. ในดอกที่ก้านเกสรเพศเมีย
หนำมโค้งเป็นแถว มีขนหยำบและหนำมโค้งประปรำยตำมแกนก้ำนใบ แผ่นใบ ยาว ยาว 0.5-1 มม. และ 1-1.7 มม. รังไข่มี 5 ช่อง เชื่อมติดกัน ก้ำนเกสรเพศเมีย
และช่อดอก แกนกลางใบประกอบยาว 6-11 ซม. ก้านยาว 3-5 ซม. ใบประกอบย่อย 5 อัน แบบสั้น ยาวประมาณ 0.5 มม. แบบยาว ยาว 2-3 มม. ผลสด รูปรี ยาว
มี 4-7 คู่ ยาว 1-4.5 ซม. ใบย่อยมี 12-21 คู่ รูปขอบขนาน ยาว 2-7 มม. ก้านช่อดอก 0.6-1.3 ซม. สุกสีแดง มี 1-3 เมล็ด รูปขอบขนาน ยาว 5-9 มม.
ยาว 0.5-6 ซม. ดอกรูปกรวยแคบ ยาวประมาณ 2 มม. กลีบดอกยาวประมาณ 1 มม. พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และภาคใต้ตอนล่างของไทย ที่นราธิวาส ขึ้น
ปลายมน เกสรเพศผู้ 8 อัน รังไข่มีขนละเอียด ฝักรูปขอบขนาน ยาว 1.5-3.5 ซม. ตามป่าดิบชื้น ความสูงระดับต�่า ๆ มีความผันแปรสูง แยกออกเป็นหลาย varities
ขอบมีขนแข็ง ตามลักษณะของสิ่งปกคลุม
มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ เป็นวัชพืชทั่วไปในเขตร้อน น�าเข้าโดยกรมวิชาการเกษตร
เพื่อใช้ควบคุมวัชพืช สกุล Sarcotheca Blume มี 11 ชนิด พบเฉพ�ะในภูมิภ�คม�เลเซีย ในไทยมี
ชนิดเดียว ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�กรีก “sarkos” สด และ “theke” กล่อง หม�ยถึง
ผลสดกินได้
ไมยร�บต้น
Mimosa pigra L. เอกส�รอ้�งอิง
Veldkamp, J.F. (1967). A revision of Sarcotheca Bl. and Dapania Korth.
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 4 ม. แตกกิ่งหนาแน่น มีหนำมโค้งบนแกนใบประกอบระหว่ำง (Oxalidaceae). Blumea 15: 533.
รอยต่อใบประกอบย่อย มีขนหยำบตำมกิ่ง แกนก้ำนใบ ขอบใบ และช่อดอก
แกนกลางใบประกอบยาว 11-17 ซม. เป็นเหลี่ยม ก้านใบประกอบยาว 0.8-2.8 ซม.
ใบประกอบย่อยมี 10-14 คู่ ยาว 3.5-4.5 ซม. ใบย่อยมีประมำณ 45 คู่ รูปแถบ
แกมขอบขนาน ยาว 5-9 มม. ก้านช่อยาวประมาณ 2 ซม. กลีบเลี้ยงบำงและแห้ง
ดอกรูปแตร ยาวประมาณ 3 มม. กลีบดอกรูปไข่ปลายแหลม ยาวประมาณ 1.2 มม.
เกสรเพศผู้ 8 อัน รังไข่มีขนก�ำมะหยี่หนำแน่น ฝักรูปขอบขนานถึงรูปแถบ ยาวได้ถึง
6 ซม. ปลายมีจะงอย มีขนสากหนาแน่น
มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ ขึ้นเป็นวัชพืชทั่วไปในเขตร้อน
เอกส�รอ้�งอิง
Nielsen, I.C. (1985). Leguminosae-Mimosoideae. In Flora of Thailand Vol. 4(2): ยมดอย: ใบเรียงเวียน ปลายแหลมยาว ช่อดอกออกเป็นกระจุกสั้น ๆ บนช่อแบบแยกแขนง ผลสด สุกสีแดง
151-155. (ภาพ: แว้ง นราธิวาส - MT)
ยมหอม
Toona ciliata M. Roem.
วงศ์ Meliaceae
ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. แยกเพศร่วมต้น กิ่งมีช่องอำกำศ ใบประกอบเรียงเวียน
มีใบย่อย 8-15 คู่ ก้านใบยาว 5-20 ซม. ใบย่อยรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 7-16 ซม.
ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว ก้านใบย่อยยาว 0.5-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก
ไมยรำบ: ใบประกอบย่อยเรียงชิดกันคล้ายรูปฝ่ามือ ฝักรูปขอบขนาน ขอบมีขนแข็ง (ภาพ: ประจวบคีรีขันธ์ - RP) แยกแขนง ยำวได้ถึง 50 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปรีขนาดเล็ก
ขอบมีขนครุย ดอกสีขาว มี 5 กลีบ รูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ยาว 4-5 มม.
ขอบมีขนครุย ก้ำนชูเกสรร่วมยำว 3-5 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านชูอับเรณูยาว
1.5-3 มม. จำนฐำนดอกคล้ำยนวมสีส้มแดง มีขนยำวหนำแน่น รังไข่มีขนยำว
มี 5 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 8 เม็ด ก้ำนเกสรเพศเมียเกลี้ยง ยาว 1.5-3 มม.
ยอดเกสรแบน ผลแห้งแตกเป็น 5 ซีก รูปรี ยาว 2-4 ซม. แกนกลำงมีห้ำเหลี่ยม
ผิวมีช่องอำกำศ เมล็ดมีปีกทั้งสองด้ำน ยาว 1.5-2 ซม. รวมปีก
พบที่อินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ เนปาล ศรีลังกา ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า
ไมยรำบขำว: ล�าต้นเป็นสี่เหลี่ยม มีหนามโค้งตามสันเหลี่ยมเป็นแถว มีขนหยาบตามแกนก้านใบ (ภาพ: ตาก - RP) ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ปาปัวนิวกินี ออสเตรเลีย และหมู่เกาะ
แปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูง
ถึงประมาณ 1300 เมตร นิยมปลูกเป็นไม้สวนป่าในหลายประเทศ ส่วนต่าง ๆ มี
สรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง ดอกมีกลิ่นหอม ให้สีย้อมสีแดงหรือเหลือง
สกุล Toona (Endl.) M. Roem. มี 5 ชนิด พบในเอเชียและออสเตรเลีย ในไทยมี
3 ชนิด ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�สันสกฤต “toon” หรือ “tunna” ที่ใช้เรียก ยมหอม
เอกส�รอ้�งอิง
ไมยรำบต้น: มีหนามโค้งบนแกนระหว่างรอยต่อใบประกอบย่อย ใบย่อยจ�านวนมาก (ภาพ: เชียงใหม่ - RP) Peng, H. and J.M. Edmonds. (2008). Meliaceae. In Flora of China Vol. 11: 114.
358
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 358 3/1/16 6:11 PM