Page 379 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 379
ยอ สารานุกรมพืชในประเทศไทย ยอพญาไม้
Morinda citrifolia L.
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น อาจสูงได้ถึง 10 ม. หูใบรูปไข่ ยาว 0.5-1.5 ซม. ใบรูปรีหรือ
รูปไข่ ยาว 10-25 ซม. ปลายแหลมหรือมน โคนแหลมหรือเรียวสอบ เส้นแขนงใบ
ข้างละ 5-7 เส้น มักมีตุ่มใบเป็นขน ก้านใบยาว 0.5-3.5 ซม. ก้านช่อยาว 1-1.5 ซม.
ช่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. บำงครั้งมีแผ่นคล้ำยใบประดับสีขำว 1-3 ใบ
รูปรี ยาว 0.5-1.5 ซม. ดอกรูปแตรแคบ ๆ หลอดกลีบดอกยาว 0.8-1.5 ซม. ด้ำนใน
มีขนหนำแน่น มี 5-6 กลีบ รูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาว 2-6 มม. ก้านเกสรเพศเมีย
ยมหอม: โคนใบเบี้ยว ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ผลแห้งแตก ผิวมีช่องอากาศหนาแน่น แกนกลางมีห้าเหลี่ยม ยาว 0.8-1 ซม. ช่อผลแก่สีขำว รูปไข่หรือกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-5 ซม. ผลย่อย
(ภาพซ้าย: เชียงใหม่ - SSi; ภาพขวา: ตาก - OK) จ�านวนมากเชื่อมติดกัน
ยมหิน พบที่อินเดีย ศรีลังกา ไห่หนาน ไต้หวัน ญี่ปุ่น พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
Chukrasia tabularis A. Juss. ฟิลิปปินส์ นิวกินี ทางตอนบนของออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค
วงศ์ Meliaceae ปลูกเป็นไม้ผลและพืชสมุนไพร ใบและผลมีสรรพคุณหลายอย่าง โดยเฉพาะน�้าลูกยอ
ที่เรียกว่า noni juice เชื่อว่ามีสรรพคุณรักษาโรคมะเร็งได้
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. กิ่งมีช่องอำกำศ มีขนละเอียดตำมช่อดอก กลีบเลี้ยงและ
กลีบดอกด้ำนนอก ใบประกอบเรียงเวียน มีใบย่อยข้างละ 10-15 ใบ เรียงสลับหรือ ยอน้ำ�
เกือบตรงข้าม ก้านใบประกอบยาว 4-10 ซม. ใบย่อยรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน
ยาว 4-15 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว แผ่นใบด้านล่างมักมีขนละเอียด ก้านใบย่อย Morinda pandurifolia Kuntze
ยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ยาวได้ถึง 20 ซม. ใบประดับ ไม้พุ่มหรือรอเลื้อย มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบ ก้านใบ ใบมักเรียงหนาแน่น
คล้ำยใบ ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 4-5 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาวประมาณ 2 มม. ที่ปลายกิ่ง รูปรีถึงรูปใบหอก หรือคล้ำยรูปไวโอลิน มักมีสีน�้ำตำลแดงตำมกิ่ง
ดอกสีครีมอมเขียวหรือน�้าตาล มี 5 กลีบ รูปใบพาย ยาว 1-1.5 ซม. เกสรเพศผู้ ก้ำนใบ และเส้นกลำงใบ ยาว 3-15 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนเรียวสอบ
เชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลำยตัด ยาว 5-6 มม. อับเรณู 10 อัน ติดที่ปลำยหลอด ก้านใบยาว 0.5-3 ซม. ช่อดอกออกเดี่ยว ๆ ก้ำนช่อสั้น บางครั้งออกชิดกันใกล้
ก้านชูอับเรณูสั้น รังไข่ มี 3-5 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียรูปทรงกระบอก สั้น ยอดเกสร ปลายกิ่งดูคล้ายช่อแยกแขนง ช่อเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. ดอกรูปดอกเข็ม
จัก 3-5 พู ผลแห้งแตก รูปรี ยาว 4-4.5 ซม. เปลือกแข็ง มีช่องอากาศหรือตุ่มหนาแน่น หลอดกลีบดอกยาว 1-1.8 ซม. มีขนละเอียดประปราย มี 4-6 กลีบ รูปขอบขนาน
เมล็ดจ�านวนมาก รูปรี แบน ยาวประมาณ 3 มม. ปลำยมีปีกยำวประมำณ 1 ซม. ยาว 0.5-1.5 ซม. ก้านเกสรเพศเมียยาว 3-5 มม. และ 0.8-1 ซม. ผลรูปรีหรือกลม
พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล ศรีลังกา บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 ซม.
และมาเลเซีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นหลากหลายสภาพป่า หรือบนเขาหินปูน ความสูง พบที่ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคเหนือตอนล่างที่ตาก และนครสวรรค์
ถึงประมาณ 1600 เมตร เปลือกรสฝาดมีสรรพคุณเป็นยาสมาน รากและเปลือก ภาคกลางพบทั่วไป ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย มหาสารคาม ภาคตะวันออก
มีสารยับยั้งการกินอาหารของแมลงศัตรูพืชบางชนิด
ที่อุบลราชธานี และภาคใต้ที่สุราษฎร์ธานี ขึ้นในที่ลุ่มน�้าขังหรือริมแม่น�้า ความสูง
สกุล Chukrasia A. Juss. เป็นสกุลที่มีชนิดเดียว ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�ฮินดู ระดับต�่า ๆ ลักษณะและรูปร่างของใบมีความผันแปรสูง เคยแยกเป็น var. oblonga
“chikrassee” ที่ใช้เรียก ยมหิน (Pit.) Craib และ var. tenuifolia Craib
เอกส�รอ้�งอิง ยอป่�
Peng, H. and D.J. Mabberley. (2008). Meliaceae. In Flora of China Vol. 11: 117.
Morinda coreia Buch.-Ham.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. หูใบยาว 0.8-1 ซม. ร่วงเร็ว ใบรูปรี ยาว 15-25 ซม.
ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนเรียวสอบ แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่มด้ำนล่ำง
เส้นแขนงใบข้างละ 7-12 เส้น มักมีตุ่มใบ ก้านใบยาว 1-3.5 ซม. ก้ำนช่อดอกยำว
2-6 ซม. ดอกรูปดอกเข็ม หลอดกลีบดอกยาว 1.2-1.8 ซม. เกลี้ยงหรือมีขนประปราย
มี 5-6 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 1-1.5 ซม. ก้านเกสรเพศเมียยาว 1.2-1.5 ซม. และ
1.5-1.8 ซม. ช่อผลรูปรีหรือกลม ๆ เส้นผ่านศูนย์กลางยาวได้ถึง 3 ซม. ผลย่อย
ยมหิน: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง เกสรเพศผู้เชื่อมติดกันเป็นหลอด อับเรณูติดที่ปลายหลอด ผลแห้งแตก จ�านวนมากเชื่อมติดกัน
มีช่องอากาศหรือตุ่มหนาแน่น ปลายเมล็ดมีปีก (ภาพช่อดอก: แม่ฮ่องสอน - OK; ภาพผลแตก: อุทัยธานี - SSi)
พบที่อินเดีย ศรีลังกา บังกลาเทศ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค
ยอ, สกุล ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรัง ความสูงถึงประมาณ
Morinda L. 1300 เมตร อนึ่ง คล้ายกับยอป่าชนิด M. tomentosa B. Heyne ex Roth. และ
วงศ์ Rubiaceae M. pubescens Sm. บางข้อมูลระบุว่าทั้ง 3 ชนิด เป็นชนิดเดียวกัน ซึ่งชื่อที่ถูก
ไม้พุ่ม ไม้ต้น หรือไม้เถา หูใบร่วม ส่วนมำกรูปสำมเหลี่ยม แยกหรือเชื่อมติดกัน ต้องอาจเป็น M. pubescens Sm.
ที่โคน ติดทนหรือร่วงเร็ว ใบเรียงตรงข้ำม ช่อดอกเป็นกระจุกแน่นรูปกลมหรือรูปรี
ออกเดี่ยว ๆ เป็นกระจุก หรือช่อกระจุก ส่วนมำกออกตรงข้ำมใบ ดอกรูปดอกเข็ม ยอพญ�ไม้
รูปแตร หรือรูประฆัง ส่วนมากสีขาว ไร้ก้ำน เชื่อมติดกันโดยรังไข่ กลีบเลี้ยงปลายตัด Morinda nana Craib
หรือจักมน ติดทน กลีบดอกมี 3-7 กลีบ เรียงจรดกันในตำดอก เกสรเพศผู้ 3-7 อัน ไม้พุ่มหรือรอเลื้อย ใบขนำดเล็ก รูปรี หรือคล้ำยรูปไวโอลิน ยำว 1-3 ซม.
ติดภายในหลอดกลีบดอกหรือคอหลอด ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูติดด้านหลัง รังไข่ ปลายแหลม โคนเรียวสอบ ก้านใบยาว 1-3 มม. ช่อดอกออกเดี่ยว ๆ ก้ำนช่อสั้น
ใต้วงกลีบ มี 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด หรือมี 4 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล ช่อเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.3-1 ซม. ดอกรูปดอกเข็ม หลอดกลีบดอกยาว 5-8 มม.
เม็ดเดียว ยอดเกสรเพศเมีย 2 อัน รูปแถบ มี 2 แบบ แบบสั้นและแบบยำว ผลรวม มีขนละเอียดประปราย มี 5-6 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 4-5 มม. ก้านเกสรเพศเมีย
เชื่อมหรือแยกกัน ผนังสด มี 2-4 ไพรีน แต่ละไพรีนมีเมล็ดเดียว
ยาวได้ถึง 1 ซม. ผลรูปรีหรือกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม.
สกุล Morinda มีม�กกว่� 40 ชนิด พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทยมีประม�ณ พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนที่นครพนม
10 ชนิด ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�ละติน “morus” หม่อน และ “indicus” อินเดีย และภาคตะวันออกที่อ�านาจเจริญ ขึ้นตามที่โล่งริมล�าธาร ความสูง 100-200 เมตร
ต�มชื่อส�มัญ Indian mulberry
359
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 359 3/1/16 6:11 PM