Page 359 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 359

มะพลับไข่นก                                         มะพอก      สารานุกรมพืชในประเทศไทย  มะเฟือง
                    Diospyros apiculata Hiern                           Parinari anamensis Hance
                    วงศ์ Ebenaceae                                      วงศ์ Chrysobalanaceae
                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 7 ม. มีขนหยำบยำวตำมกิ่งอ่อน แผ่นใบด้ำนล่ำง   ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. เปลือกแตกเป็นร่องลึก หูใบรูปใบหอก ยำวได้ถึง 1 ซม.
                    ก้ำนใบ กลีบเลี้ยงด้ำนนอก และผล ใบรูปไข่แกมรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว   ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 6-15 ซม. ปลายมนหรือแหลม โคนรูปลิ่มกว้าง
                    10-15 ซม. ปลายแหลมหรือเป็นติ่งแหลม โคนกลมหรือเว้าตื้น แผ่นใบด้านบนมี  หรือกลม แผ่นใบด้ำนล่ำงมีขนคล้ำยขนแกะหนำแน่น ก้านใบยาว 0.8-1 ซม. ใต้จุด
                    ขนสั้นนุ่ม เส้นแขนงใบข้างละ 6-8 เส้น ก้านใบยาว 4-5 มม. ดอกไร้ก้ำน กลีบเลี้ยง  กึ่งกลำงมีต่อม 2 ต่อม ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงออกที่ปลำยกิ่ง ก้านดอกสั้นมาก
                    และกลีบดอกอย่างละ 4-5 กลีบ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ กลีบเลี้ยง  หลอดกลีบเลี้ยงยาว 2-2.5 มม. มี 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดไม่เท่ากัน ยาวประมาณ
                    แฉกลึกเกือบจรดโคน ยาวประมาณ 5 มม. ดอกคล้ำยรูปดอกเข็ม ยาว 0.8-1 ซม.   1.5 มม. ดอกสีขาว กลีบดอกยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์มี 8-10 อัน
                    กลีบดอกแฉกตื้น ๆ เกสรเพศผู้ 6-12 อัน ไม่มีที่เป็นหมันในดอกเพศเมีย ดอกเพศเมีย  ยาวไม่เท่ากัน รังไข่แนบติดหลอดกลีบเลี้ยงด้ำนเดียว มี 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล
                    ออกเดี่ยว ๆ รังไข่มี 4 ช่อง มีขนคล้ำยไหม เป็นหมันในดอกเพศผู้ ก้ำนเกสรเพศเมีย   เม็ดเดียว มีขนยาวหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ผลคล้ายผล
                    2 อัน มีขนคล้ำยไหม ผลรูปรีกว้างเกือบกลมหรือรูปไข่แคบ ๆ ยาว 1.5-2 ซม.   ผนังชั้นในแข็ง รูปรีหรือกลม ยาว 3-4 ซม. มีสะเก็ดสีเทำหรือสีน�้ำตำลหนำแน่น
                    สุกสีแดง ไร้ก้าน กลีบเลี้ยงแยกจรดใกล้โคน รูปไข่แกมรูปขอบขนาน ปลายเรียวแหลม   พบในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเต็งรัง
                    ยาวได้ถึง 1 ซม. มีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน เอนโดสเปิร์มเรียบ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่   และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 1400 เมตร ผลและเมล็ดกินได้ เมล็ดให้น�้ามัน
                    มะเกลือ, สกุล)
                       พบที่ลาว และคาบสมุทรมลายู ในไทยกระจายห่าง ๆ ยกเว้นภาคเหนือ ขึ้นตาม  สกุล Parinari Aubl. เคยอยู่ภ�ยใต้วงศ์ Rosaceae รวมถึงสกุล Chrysobalanus,
                    ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร     Parastemon และ Maranthes (ที่เดิมอยู่ภ�ยใต้วงศ์ Rosaceae) มีประม�ณ 45 ชนิด
                                                                           พบในอเมริก�กล�งและใต้ แอฟริก� ม�ด�กัสก�ร์ เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เก�ะ
                    มะพลับระนอง                                            แปซิฟิก ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลเป็นชื่อที่ใช้เรียกพืชในสกุลนี้ในแถบอเมริก�ใต้
                    Diospyros ranongensis Phengklai                       เอกส�รอ้�งอิง
                                                                           Vidal, J.E. (1970). Rosaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(1): 73-74.
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. กิ่งอ่อนมีขนกระจาย ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว
                    10-15 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนแหลมหรือมน แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขน
                    ตามเส้นกลางใบด้านล่าง เส้นแขนงใบข้างละ 7-11 เส้น ก้านใบยาว 0.5-1 ซม.
                    มีขนกระจาย ผลส่วนมากออกเดี่ยว ๆ ตามกิ่ง รูปกลมขนาดใหญ่ เส้นผ่ำนศูนย์กลำง
                    5.5-7 ซม. ผิวขรุขระสีน�้ำตำล จักเป็นพูตื้น ๆ กลีบเลี้ยงเป็นวงคล้ำยปลอกคอ
                    ผนังผลแข็ง หนาประมาณ 1 ซม. ไร้ก้ำนหรือมีก้ำนหนำสั้นมำก มี 10-14 เมล็ด รูปรี
                    แบน ๆ ยาว 3-4 ซม. เอนโดสเปิร์มเรียบ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล)
                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคใต้ตอนบนที่คลองนาคา จังหวัดระนอง ขึ้นตาม
                    สันเขาในป่าดิบชื้น ความสูงประมาณ 600 เมตร

                      เอกส�รอ้�งอิง                                       มะพอก: เปลือกแแตกเป็นร่องลึก โคนใบรูปลิ่มกว้างหรือกลม หูใบรูปใบหอก ร่วงเร็ว ผลมีสะเก็ดสีน�้าตาลหนาแน่น
                       Phengklai, C. (1981). Ebenaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 334, 376.  (ภาพ: ร้อยเอ็ด - PK)
                       ________. (2005). Two new species of Diospyros (Ebenaceae) from Thailand.
                          Thai Forest Bulletin (Botany) 33: 158.        มะเฟือง
                                                                        Averrhoa carambola L.
                                                                        วงศ์ Oxalidaceae
                                                                           ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. เนื้อไม้สีขำว เปลี่ยนเป็นสีแดงเมื่อถูกอำกำศ ไม่มีหูใบ
                                                                        ใบประกอบปลายคี่ ส่วนมำกมีใบย่อย 5-6 คู่ รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว
                                                                        4-10 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงออกตามซอกใบ กิ่ง หรือล�าต้น ยาวได้ถึง 7 ซม.
                                                                        ก้านดอกยาว 3-6 มม. มีข้อที่ใต้ดอก ยาวประมาณ 8 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ขนาดเล็ก
                                                                        สีคล้ายกลีบดอก ดอกสีแดงอมชมพู มี 5 กลีบ รูปใบหอก ยาว 5-6 มม. เชื่อมติดกัน
                                                                        เหนือก้ำนกลีบ ด้ำนในมีขนต่อมประปรำย เกสรเพศผู้ 10 อัน อันยาว 5 อัน เป็นหมัน
                                                                        5 อัน รังไข่ส่วนมากมี 5 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 3-5 เม็ด เกสรเพศเมีย 5 อัน ผลสด
                      มะพลับไข่นก: มีขนหยาบยาวทั่วไป กลีบเลี้ยงแยกจรดใกล้โคน ปลายเรียวแหลม ปลายผลมีติ่งแหลม (ภาพซ้าย:   มีหลายเมล็ด รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 12 ซม. มีครีบคล้ำยปีก 5 อัน ตัดตำม
                    ยะลา - RP; ภาพขวา: บึงกาฬ - MT)
                                                                        ขวำงรูปดำวห้ำแฉก เมล็ดมีเยื่อหุ้ม
                                                                           เข้าใจว่ามีถิ่นก�าเนิดในมาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ ไม่พบในธรรมชาติ
                                                                        ปลูกเป็นไม้ผลมานาน ต้น ใบ ราก และผลมีสรรพคุณทางสมุนไพรหลายอย่าง ชื่อชนิด
                                                                        มาจากภาษาสเปนหรือภาษาโปรตุเกส ที่ใช้เรียกต้นไม้ชนิดนี้หรือตะลิงปลิง
                                                                           สกุล Averrhoa L. มีเพียง 2 ชนิด อีกชนิดคือ ตะลิงปลิง A. bilimbi L. ซึ่งน่�จะ
                                                                           มีถิ่นกำ�เนิดเช่นเดียวกับมะเฟือง ซึ่งคำ�ระบุชนิดเป็นชื่อพื้นเมืองเรียกในอินเดีย
                                                                           และศรีลังก� เนื่องจ�กตัวอย่�งพรรณไม้ต้นแบบม�จ�กศรีลังก� ผลไม่มีครีบ
                                                                           ใบประกอบมีใบย่อยม�กกว่� และเมล็ดไม่มีเยื่อหุ้ม ชื่อสกุลตั้งต�มน�ยแพทย์
                                                                           ช�วมัวร์ (Moorish) ท�งตอนเหนือของแอฟริก� Averrhoes (1149-1217) อ�ศัย
                                                                           อยู่ในสเปน และเป็นผู้แปลง�นของอริสโตเติลเป็นภ�ษ�อ�หรับ
                                                                          เอกส�รอ้�งอิง
                                                                           Samson, J.A. (1992). Edible fruits and nuts. In Plant Resources of South-East
                                                                              Asia 2. Pudoc, Wageningen, The Netherlands.
                      มะพลับระนอง: ผลรูปกลมขนาดใหญ่ ออกเดี่ยว ๆ ตามกิ่ง ผิวขรุขระ จักเป็นพูตื้น ๆ (ภาพ: คลองนาคา ระนอง - NN)  Veldkamp, J.F. (1970). Oxalidaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(1): 21-23.

                                                                                                                    339






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   339                                                                 3/1/16   6:06 PM
   354   355   356   357   358   359   360   361   362   363   364