Page 355 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 355

มะค่�โมง   สารานุกรมพืชในประเทศไทย  มะเค็ด
                                                                        Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib
                                                                        วงศ์ Fabaceae
                                                                          ชื่อพ้อง Pahudia xylocarpa Kurz
                                                                           ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ล�ำต้นคดงอ มีขนสั้นนุ่มสีเทำตำมช่อดอก ฐำนดอก
                                                                        กลีบเลี้ยง โคนกลีบดอก ก้ำนชูอับเรณู และรังไข่ ใบประกอบปลายคู่ มีใบย่อย
                                                                        3-5 คู่ รูปไข่ ยาว 5-9 ซม. ปลำยมน เว้ำตื้น ก้านใบย่อยยาว 3-5 มม. ช่อดอก
                                                                        แบบช่อแยกแขนง ยาว 5-15 ซม. ใบประดับรูปไข่ ยาว 6-9 มม. ใบประดับย่อยคล้าย
                                                                        ใบประดับ ติดเหนือจุดกึ่งกลำงก้ำนดอก ติดทน ก้านดอกยาว 0.7-1 ซม. กลีบเลี้ยง
                                                                        4 กลีบ รูปรี คู่นอกขนาดเล็กกว่าคู่ในเล็กน้อย ยาว 1-1.2 ซม. กลีบดอกมีกลีบเดียว
                                                                        สีชมพูอมแดง รูปขอบขนาน ยาว 1.2-2 ซม. โคนเรียวแคบเป็นก้ำนกลีบ ปลำย
                                                                        เว้ำตื้น เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ 7 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 2-3 ซม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน
                      มะคังดง: ช่อดอกเพศผู้ห้อยลง เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ยาวเท่า ๆ กลีบดอก ผลจัก 3 พู กลีบเลี้ยงไม่ขยายในผล   3 อัน รูปเส้นด้าย รังไข่มีก้านสั้น ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 2-2.5 ซม. ยอดเกสรขนาดเล็ก
                    เกสรเพศเมียติดทน (ภาพช่อดอกเพศผู้: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - TP; ภาพผล: เชียงใหม่ - RP)
                                                                        ฝักแบนรูปขอบขนำน เบี้ยว ยาว 15-20 ซม. ปลำยเป็นจะงอยสั้น ๆ เปลือกหนำ
                    มะค่�แต้                                            เมล็ดรูปรี ยาว 2.5-3 ซม. มีผนังกั้น ขั้วเมล็ดมีเยื่อหุ้มหนำสีเหลืองอมส้ม
                    Sindora siamensis Teijsm. ex Miq.                      พบที่พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาคยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตาม
                    วงศ์ Fabaceae                                       ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร เมล็ด
                      ชื่อพ้อง Sindora cochinchinensis Baill.           บดใช้แก้ปวดฟัน ปวดท้อง ตาอักเสบ
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนสั้นนุ่มตำมกิ่งอ่อน แผ่นใบด้ำนล่ำง และช่อดอก   สกุล Afzelia Sm. อยู่ภ�ยใต้วงศ์ย่อย Caesalpinioideae เผ่� Detarieae มี 13 ชนิด
                    ใบประกอบปลายคู่ ก้านใบประกอบยาว 2-4 ซม. ใบย่อยมี 3-4 คู่ รูปรี ยาว 6-15 ซม.   พบในแอฟริก�และเอเชีย ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งต�มน�ยแพทย์และนัก
                    ปลำยกลม เว้ำตื้น ๆ แผ่นใบด้านบนมีขนสาก มักมีต่อมใกล้ขอบใบด้ำนล่ำงด้ำนหนึ่ง   พฤกษศ�สตร์ช�วสวีเดน Adam Afzelius (1750-1873)
                    ก้านใบย่อยยาวประมาณ 5 มม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาว 10-25 ซม. ใบประดับ
                    รูปไข่ ยาว 3-6 มม. ติดทน ใบประดับย่อยขนำดเล็กติดใต้กึ่งกลำงก้ำนดอก ก้านดอก  เอกส�รอ้�งอิง
                    ยาว 2-4 มม. กลีบเลี้ยงมี 4 กลีบ รูปเรือ 1 กลีบ รูปใบหอก 3 กลีบ ยาวประมาณ   Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
                                                                              In Flora of Thailand Vol. 4(1): 126-128.
                    7 มม. มีตุ่มกระจาย ปลำยกลีบมีหนำมเล็ก ๆ กลีบดอกมีกลีบเดียว สีเหลืองอมแดง
                    ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้ 10 อัน 9 อันเชื่อมติดกันที่โคนเป็นแผ่น 2 อัน
                    ด้ำนบนยำว 1.5-2 ซม. 7 อันขนาดเล็ก รังไข่มีก้านสั้น มีขนหยาบและหนามเล็ก ๆ
                    ก้านเกสรเพศเมียโค้ง ยอดเกสรเป็นตุ่ม ฝักแห้งแตก แบนคล้ายรูปไข่ ยาว 4.5-10 ซม.
                    ปลายมีจะงอย ยาว 5-7 มม. ผิวมีหนำมกระจำย มี 1-3 เมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลาง
                    1.5-2 ซม. ขั้วเมล็ดมีเยื่อหุ้มหนำ
                       พบที่ภูมิภาคอินโดจีนและคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเต็งรัง
                    ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าชายหาด ความสูงไม่เกิน 300 เมตร แยกเป็น
                    var. maritima (Pierre) K. Larsen & S. S. Larsen หรือมะค่าลิง ฝักมีหนาม
                    ขนาดเล็กเป็นตุ่มประปรายหรือไม่มี การกระจายพันธุ์เช่นเดียวกับมะค่าแต้

                       สกุล Sindora Miq. อยู่ภ�ยใต้วงศ์ย่อย Caesalpinioideae เผ่� Detarieae มี
                       ประม�ณ 20 ชนิด พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพ�ะภูมิภ�คม�เลเซีย
                       และพบในแอฟริก� 1 ชนิด ในไทยมี 3 ชนิด อีก 2 ชนิดพบเฉพ�ะท�งภ�คใต้
                       คือ กลิ้ง S. coriacea (Baker) Prain และมะคะ S. echinocalyx Prain ชื่อสกุล  มะค่ำโมง: ช่อดอกและดอกมีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน กลีบดอกมีกลีบเดียว โคนเรียวเป็นก้านกลีบ
                       เป็นภ�ษ�ม�เลย์ “sindor” ที่ใช้เรียกพืชในสกุลนี้หล�ยชนิด  เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ 7 อัน ฝักรูปขอบขนาน เบี้ยว ปลายมีจะงอยสั้น ๆ (ภาพดอก: เลย - PK; ภาพผล: นครพนม - PK)
                      เอกส�รอ้�งอิง                                     มะเค็ด
                       Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
                          In Flora of Thailand Vol. 4(1): 98-102.       Gardneria ovata Wall.
                                                                        วงศ์ Loganiaceae
                                                                           ไม้พุ่ม หรือรอเลื้อย ยาวได้ถึง 5 ม. หูใบร่วมขนำดเล็ก ใบเรียงตรงข้ำม รูปรี
                                                                        รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 3-16 ซม. ปลายแหลม โคนรูปลิ่มหรือเป็นครีบ
                                                                        ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกหรือแยกแขนงสั้น ๆ ตามซอกใบ
                                                                        ยาว 3-12 ซม. ก้านช่อยาว 2-4 ซม. ใบประดับย่อยขนาดเล็ก 2 ใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ
                                                                        เรียงซ้อนเหลื่อม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 มม. ขอบมีขนครุย ดอกรูปกงล้อ สีเหลือง
                                                                        อมส้ม หลอดกลีบดอกสั้น มี 4 กลีบ หนำ เรียงจรดกันในตำดอก กลีบรูปไข่แกม
                                                                        รูปขอบขนาน ยาว 4-5 มม. ปลายมีติ่งแหลม ด้ำนในมีปุ่มขนหนำแน่น เกสรเพศผู้
                                                                        4 อัน ติดที่โคนหลอดกลีบ ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูเชื่อมติดกัน ยาว 3-4 มม.
                                                                        ยื่นพ้นหลอดกลีบ รังไข่ 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียสั้น
                                                                        ยอดเกสรแยก 2 แฉก ผลสด เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-1 ซม. สุกสีแดง มี 1-2 เมล็ด
                                                                           พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และชวา ในไทย
                                                                        พบทางภาคเหนือที่เชียงใหม่ เชียงราย ตาก ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี
                      มะค่ำแต้: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ใบประดับติดทน ปลายกลีบเลี้ยงมีหนามเล็ก ๆ กลีบดอกมีกลีบเดียว ฝักแห้งแตก   และภาคใต้ที่กระบี่ พังงา ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น หรือบน
                    มีหนามหรือเรียบ (var. maritima) (ภาพดอก: ชุมพร, ภาพผลมีหนาม: มุกดาหาร, ภาพผลเรียบ: บึงกาฬ; - RP)  เขาหินปูน ความสูง 200-2000 เมตร

                                                                                                                    335






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   335                                                                 3/1/16   6:05 PM
   350   351   352   353   354   355   356   357   358   359   360