Page 350 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 350
มะกล�่าสร้อย
มะกล่ำาสร้อย สารานุกรมพืชในประเทศไทย และภาคใต้ของไทย ชื่อสกุลตั้งตาม Brian Houghton Hodgson (1800-1894)
Sophora prazeri Prain ชาวอังกฤษผู้ศึกษาศิลปะตะวันออก และเก็บตัวอย่างพรรณไม้ที่อินเดีย
วงศ์ Fabaceae เอกสารอ้างอิง
de Wilde, W.J.J.O. and B.E.E. Duyfjes. (2008). Cucurbitaceae. In Flora of
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3 ม. กิ่งมีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดง ใบประกอบปลำยคี่ ยำว Thailand Vol. 9(4): 454-458.
7-11 ซม. หูใบรูปลิ่มแคบ มีขน ใบย่อยมี 3-7 คู่ รูปรี รูปไข่ หรือรูปขอบขนำน
ยำว 3-5 ซม. ใบปลำยยำวกว่ำนี้ ปลำยแหลม โคนรูปลิ่มกว้ำง แผ่นใบค่อนข้างบาง
ด้ำนล่ำงมีขนสั้นนุ่ม ช่อดอกแบบช่อกระจะออกด้านข้างเรียงสลับกับใบ ยำว
5-20 ซม. ก้ำนดอกยำว 3-6 มม. ใบประดับคล้ำยขนแข็ง ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงรูปถ้วย
เบี้ยว ยำว 8-9 มม. จักตื้น 5 จัก ด้ำนนอกมีขนสั้นนุ่ม ดอกรูปดอกถั่ว สีขาวหรือครีม
กลีบกลำงรูปไข่กลับ ยำวประมำณ 1.5 ซม. ปลำยมน โคนเรียวแคบเป็นก้ำนกลีบ
กลีบปีกยำวเท่ำ ๆ กลีบกลำง เว้ำเป็นติ่ง ก้ำนกลีบยำว กลีบคู่ล่ำงคล้ำยกลีบปีก
แต่สั้นกว่ำ เกสรเพศผู้ 10 อัน เชื่อมติดกันที่โคน รังไข่มีขนสีน�้ำตำลแดง ผลเป็นฝัก
คล้ายลูกปัด ยำว 4-10 ซม. ปลำยเป็นจะงอย มี 2-4 เมล็ด รูปไข่ปลำยแหลม
ยำวประมำณ 8 มม. เมล็ดแก่สีแดง
พบที่จีนตอนใต้ พม่ำ และภำคตะวันตกเฉียงใต้ของไทยที่ทุ่งใหญ่นเรศวร
จังหวัดกำญจนบุรี ภำษำกะเหรี่ยงเรียกว่ำ เซซำโว
สกุล Sophora L. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Faboideae เผ่า Sophoreae มีประมาณ
70 ชนิด พบทั้งในเขตร้อนและเขตอบอุ่น ในไทยมีประมาณ 5 ชนิด ชื่อสกุลมา มะกลิ้ง: เกล็ดประดับสีด�ำมีต่อมน�้ำต้อยสีเขียว ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อ ใบรูปฝ่ำมือ 5 แฉก ผลกลมขนำดใหญ่ (ภำพ
จากภาษาอาหรับ “sufayra” ที่ Linnaeus นำามาใช้ตั้งชื่อชนิด S. alopecuroides L. ช่อดอกและภำพเกล็ดประดับ: ดอยภูคำ น่ำน, ภำพผล: cultivated, เมล็ดน�ำมำจำกพม่ำ; - RP)
เอกสารอ้างอิง มะกอกเกลื้อน, สกุล
Bao, B. and M.A. Vincent. (2010). Fabaceae (Sophora). In Flora of China Vol. Canarium L.
10: 85, 92.
วงศ์ Burseraceae
ไม้ต้น แยกเพศต่างต้น มียำงชัน ใบประกอบปลายคี่ เรียงเวียน ช่อดอกแบบ
ช่อแยกแขนง กลีบเลี้ยงรูปถ้วย มี 3 แฉก เรียงจรดกัน ขยายในผล กลีบดอก
ส่วนมากมี 3 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อมที่โคน เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดรอบ ๆ ขอบ
จานฐานดอกหรือที่โคน เป็นหมันในดอกเพศเมีย จำนฐำนดอกเชื่อมติดรังไข่ รังไข่
มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่มหรือจักตื้น ๆ 3 พู
ผลผนังชั้นในแข็ง ไพรีนแข็ง หน้าตัดรูปสามเหลี่ยม มี 3 ช่อง ส่วนมากมีช่องเดียว
ที่พัฒนา ใบเลี้ยงรูปฝ่ามือ
สกุล Canarium มีประมาณ 100 ชนิด ส่วนมากพบในภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยมี
มะกล�่าสร้อย: ใบประกอบปลำยคี่ ช่อดอกออกด้ำนข้ำงเรียงสลับกับใบ ดอกสีขำว ผลเป็นฝักคล้ำยลูกปัด
(ภำพ: ทุ่งใหญ่นเรศวร กำญจนบุรี - RP) ประมาณ 12 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษาพื้นเมืองหมู่เกาะโมลุกกะของอินโดนีเซีย
“kanari” หรือ “kenari” ที่เรียกพืชในสกุล Canarium
มะกลิ้ง
Hodgsonia heteroclita (Roxb.) Hook. f. & Thomson subsp. มะกอกเกลื้อน
indochinensis W. J. de Wilde & Duyfjes Canarium subulatum Guillaumin
วงศ์ Cucurbitaceae ไม้ต้น อำจสูงได้ถึง 30 ม. เปลือกแตกเป็นสะเก็ด กิ่งมีช่องอำกำศ หูใบรูปลิ่มแคบ
ไม้เถำ ยำวได้ถึง 30 ม. แยกเพศต่ำงต้น มือจับแยก 2-3 แฉก ใบรูปฝ่ามือ ยำว 0.5-1.5 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ใบประกอบมีใบย่อย 2-5 คู่ ใบย่อยรูปรี รูปขอบขนำน
3-5 แฉก ขอบเรียบหรือจักฟันเลื่อยห่ำง ๆ แผ่นใบมีต่อมประปรำย ก้ำนใบยำว หรือแกมรูปไข่ ยำว 4-18 ซม. ปลำยแหลมหรือแหลมยำว โคนเบี้ยว ขอบจักฟันเลื่อย
4-8 ซม. โคนมีเกล็ดประดับสีด�า ยำวประมำณ 5 มม. มีต่อมน�้าต้อยสีเขียว ดอกบาน แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขน ก้ำนใบยำว 1-2 ซม. ใบปลำยยำว 3-4 ซม. ช่อดอกออก
ตอนกลางคืน ช่อดอกเพศผู้ยำว 15-35 ซม. มี 10-20 ดอก ก้ำนดอกยำว 2-6 มม. ที่ปลำยกิ่งหรือซอกใบใกล้ปลำยกิ่ง ช่อดอกเพศผู้ยำวกว่ำช่อดอกเพศเมีย ก้ำนดอก
ใบประดับรูปรี ยำว 0.5-1 ซม. ฐานดอกยาว 7-12 ซม. ปลำยรูปถ้วย ยำว 1-2 ซม. ยำว 1-2 มม. กลีบเลี้ยงยำว 3-5 มม. ดอกสีครีม กลีบรูปคล้ำยเรือ ยำว 0.7-1.2 ซม.
กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยำว 2-4 มม. ดอกสีเหลือง มี 5 กลีบ ยำว 3-5 ซม. ขอบจักชายครุย เกสรเพศผู้ติดที่โคนจานฐานดอก โคนเชื่อมติดกัน จานฐานดอกสีแดงอมส้ม
บิดวนห้อยลง ยาวได้ถึง 15 ซม. มีขน เกสรเพศผู้ 3 อัน ติดใกล้คอหลอด อับเรณู จักเป็นพูหรือเรียบ รังไข่และก้ำนเกสรเพศเมียมีขนยำว ผลรูปรี ยำว 3-4.5 ซม.
ชิดกัน จานฐานดอกแยกเป็น 3 ส่วน รูปแถบยาว 3-5 ซม. ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ หน้ำตัดรูปสำมเหลี่ยมมน ผนังหนำ ไพรีนรูปรี ยำว 2-2.5 ซม.
ก้ำนดอกสั้นกว่ำในดอกเพศผู้ ก้ำนเกสรเพศเมียยำวได้ถึง 5 ซม ยอดเกสรแยก 2 แฉก พบที่จีนตอนใต้ และภูมิภำคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภำค ยกเว้นภำคใต้
มี 3 คำร์เพล 6 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1-3 เม็ด รังไข่มีตุ่มสีด�ำ ผลเปลือกแข็ง ขึ้นตำมป่ำเต็งรัง ป่ำเบญจพรรณ และป่ำสนเขำ ควำมสูงถึงประมำณ 1400 เมตร
เส้นผ่ำนศูนย์กลำง 15-20 ซม. มี 6 ไพรีน ยำว 3-7 ซม. มีควำมผันแปรสูงทั้งรูปร่ำงและขนำดของส่วนต่ำง ๆ และสิ่งปกคลุม
พบที่อินเดีย ภูฏำน จีนตอนใต้ พม่ำ และภูมิภำคอินโดจีน ในไทยพบทำงภำคเหนือ
ที่น่ำน ภำคตะวันตกเฉียงใต้ที่กำญจนบุรี และภำคใต้ที่สุรำษฎร์ธำนี ขึ้นตำมป่ำดิบแล้ง มะกอกขน
และป่ำดิบเขำ ควำมสูง 800-1200 เมตร เมล็ดให้น�้ำมัน และน�ำไปเผำกินได้ ส่วน Canarium littorale Blume
subsp. heteroclita พบเฉพำะในอินเดีย ผลมีร่อง 6-12 ร่องชัดเจน ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงตามกิ่งอ่อน หูใบ แผ่นใบด้านล่าง
สกุล Hodgsonia Hook. f. & Thomson มี 2 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อน อีกชนิด ช่อดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก หูใบรูปกลม ขนำดประมำณ 1.5 ซม.
คือ น้ำาเต้าผี H. macrocarpa (Blume) Cogn. ใบมี 3 แฉก ฐานดอกเพศผู้สั้น แต่ ร่วงเร็ว ใบประกอบมีใบย่อย 2-5 คู่ รูปรี รูปขอบขนำน หรือแกมรูปไข่ ยำว 6-12 ซม.
ก้านดอกเพศเมียยาวกว่ามะกลิ้ง พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว สุมาตรา ชวา ปลำยแหลม มีติ่ง โคนรูปลิ่มกว้ำงหรือกลม เบี้ยว ขอบจักฟันเลื่อย ก้ำนใบยำว 3-6 มม.
330
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 330 3/1/16 6:15 PM