Page 348 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 348
ม่วงสอดสี
ม่วงสอดสี สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Petrocosmea bicolor D. J. Middleton & Triboun
วงศ์ Gesneriaceae
ไม้ล้มลุก มีขนสั้นนุ่มตำมแผ่นใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้ำนนอก มีขนต่อม
ตำมก้ำนช่อดอก หลอดกลีบด้ำนใน ก้ำนชูอับเรณู และรังไข่ ใบมี 2 แบบ ใบไร้ก้ำน
รูปรี ยำวได้ถึง 3 ซม. ใบมีก้ำนรูปไข่ เบี้ยว ยำว 13-36 ซม. โคนรูปหัวใจ ขอบจักซี่ฟัน
โคนและปลำยเส้นกลำงใบมักมีปม ก้ำนใบยำว 8-20 ซม. ช่อดอกคล้ายช่อซี่ร่ม
ออกตามซอกใบที่ไร้ก้าน มี 8-14 ดอก ก้ำนช่อยำว 3.5-10 ซม. ก้ำนดอกยำว
0.4-1.3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยำว 5.5-9.5 มม. 3 กลีบล่ำงเชื่อมติดกัน 1.5-2 มม. มหาก่าน: ใบประดับรูปรีหรือรูปไข่ บำง สีครีมอ่อน ๆ ติดประมำณกึ่งกลำงของก้ำนช่อ ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม กลีบเลี้ยง
กลีบดอกคู่บนสีม่วงอ่อนและขาว 3 กลีบล่างสีม่วงเข้ม หลอดกลีบดอกยำว 3.5-5 มม. รูปแถบ พับงอกลับ กลีบดอกรูปกระบอง เกสรเพศผู้ 10 อัน ยำวไม่เท่ำกัน (ภำพ: นำแห้ว เลย - RP)
กลีบบนรูปไข่ ยำว 4.5-5.5 มม. กลีบปำกล่ำงยำว 6-7 มม. กลีบรูปรี ยำว 3.3-3.7 มม. มหาก่านเหลือง
อับเรณูยำวประมำณ 4 มม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 3 อัน ก้ำนเกสรเพศเมียยำว Wikstroemia dolichantha Diels
7-8.5 มม. โคนมีขน (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ขำวก�ำมะหยี่, สกุล) วงศ์ Thymelaeaceae
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทำงภำคเหนือที่ดอยอ่ำงขำง จังหวัดเชียงใหม่ ขึ้นบน ชื่อพ้อง Wikstroemia dolichantha Diels var. effusa (Rehder) B. Peterson
หินปูนในป่ำดิบเขำ ควำมสูงประมำณ 1450 เมตร
ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. แตกกิ่งหนำแน่น มีขนประปรำยตำมกิ่งอ่อน ก้ำนใบ แผ่นใบ
เอกสารอ้างอิง ช่อดอก และกลีบเลี้ยง ใบรูปรีหรือรูปขอบขนำน ยำว 1.5-2.5 ซม. โคนและ
Middleton, D.J. and P. Triboun. (2010). Two new species of Petrocosmea ปลำยแหลม ก้ำนใบสั้น ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกที่ปลายกิ่ง ยำวได้ถึง 5 ซม.
(Gesneriaceae) from Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 38: 42-47. ดอกไร้ก้ำนหรือมีก้ำนสั้นมำก หลอดกลีบเลี้ยงสีเหลือง ยำว 0.7-1 ซม. ปลำยแยก
เป็น 4-5 แฉก ยำว 1-2 มม. มีขนคล้ายไหมกระจาย ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้เรียง
2 วง วงล่ำงติดเหนือกึ่งกลำงหลอดกลีบเลี้ยง วงบนยื่นพ้นปำกหลอดกลีบเล็กน้อย
อับเรณูยำวประมำณ 1 มม. จานฐานดอกคล้ายเกล็ดรูปแถบ 1-2 อัน ยำวประมำณ
1 มม. ปลายจักชายครุย รังไข่รูปทรงกระบอก ยำว 3-4 มม. มีขนยำวช่วงปลำย
ผลรูปกระสวย ยำวประมำณ 5 มม. มีกลีบเลี้ยงหุ้ม เมล็ดรูปรี ยำวประมำณ 3 มม.
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ปออิน, สกุล)
พบที่จีนตอนใต้ และเวียดนำม ในไทยพบทำงภำคเหนือที่ดอยหัวหมด จังหวัดตำก
ขึ้นตำมที่โล่งบนเขำหินปูน ควำมสูง 900-1000 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Peterson, B. (1997). Thymelaeaceae (Wikstroemia dolichantha var. effusa). In
Flora of Thailand Vol. 6(3): 242-243.
Wang, Y. and M.G. Gilbert. (2007). Thymelaeaceae. In Flora of China Vol. 13: 226.
ม่วงสอดสี: ถิ่นที่อยู่ขึ้นบนหินปูน ใบมี 2 แบบ ใบไร้ก้ำนมีขนำดเล็ก ใบมีก้ำนมีขนำดใหญ่ ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม
กลีบดอกมี 2 สี (ภำพ: ดอยอ่ำงขำง เชียงใหม่ - PK)
มหาก่าน
Linostoma decandrum (Roxb.) Wall. ex Meisn.
วงศ์ Thymelaeaceae
ไม้พุ่มรอเลื้อยหรือไม้เถำ ยำวได้ถึง 10 ม. ใบเรียงตรงข้ำมหรือเกือบตรงข้ำม
รูปรี รูปขอบขนำน หรือแกมรูปไข่ ยำว 3.5-10 ซม. ปลำยแหลมหรือยำวคล้ำยหำง
ก้ำนใบยำว 3-6 มม. ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม ออกตามปลายกิ่ง ก้ำนช่อยำว 1.5-4 ซม. มหาก่านเหลือง: ไม้พุ่มแตกกิ่งหนำแน่น ใบเรียงตรงข้ำมหรือเกือบตรงข้ำม ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกที่ปลำยกิ่ง
แต่ละช่อมี 3-12 ดอก ใบประดับ 2-4 ใบ สีครีมอ่อน ๆ บาง รูปรีหรือรูปไข่ ยาว กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลำยแยก 4-5 แฉก ไม่มีกลีบดอก (ภำพ: ดอยหัวหมด ตำก; ภำพซ้ำย - PK, ภำพขวำ -RP)
2-4.5 ซม. ติดประมาณกึ่งกลางหรือใต้จุดกึ่งกลางก้านช่อ ก้ำนดอกยำวประมำณ
1 ซม. ใบประดับย่อยรูปแถบยำวได้ถึง 1 ซม. ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงเชื่อมติดเป็นหลอด มหาพรหม, สกุล
ยำว 0.5-1.3 ซม. แยกเป็น 5 กลีบ รูปแถบ พับงอกลับ ยำว 6-9 มม. ดอกสีขาว Mitrephora Hook. f. & Thomson
มี 10 กลีบ รูปกระบอง ยำวได้ถึง 6 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน ติดบนจานฐานดอก วงศ์ Annonaceae
ยาวไม่เท่ากัน ยำว 4-9 มม. จำนฐำนดอกจักเป็นพูไม่เท่ำกัน รังไข่มีขนยาวคล้ายไหม ไม้ต้น ใบเรียงเวียน ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ส่วนมาก
ก้ำนเกสรเพศเมียยำวประมำณ 1 ซม. ยอดเกสรคล้ำยจำน ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรี ออกตามซอกใบหรือตรงข้ามใบ ดอกห้อยลง ใบประดับติดที่โคน กลีบเลี้ยง 3 กลีบ
ยำว 0.8-1.2 ซม. มีขนยำว มีหลอดกลีบเลี้ยงหุ้ม
เรียงจรดกัน กลีบดอก 6 กลีบ เรียง 2 วง แต่ละวงเรียงจรดกัน วงนอกยาวกว่า
พบที่อินเดีย บังกลำเทศ พม่ำ และภูมิภำคอินโดจีน ในไทยพบทุกภำค ขึ้นตำม วงใน ไม่มีก้านกลีบ วงในมีก้านกลีบ ปลายจรดกันรูปโดม เกสรเพศผู้จ�ำนวนมำก
ป่ำดิบชื้น ป่ำดิบแล้ง และป่ำดิบเขำ ควำมสูงถึงประมำณ 1100 เมตร สำรสกัด อับเรณูรูปลิ่มหันออก ปลายแกนอับเรณูมีรยางค์ ปลายตัด คาร์เพลแยกกัน มัก
จำกรำกใช้เป็นยำฆ่ำแมลง เปลือกใช้เบื่อปลำ เปลี่ยนสีและแก่ก่อนเกสรเพศผู้ (protogynous) ออวุลเรียงสองแถว ผลกลุ่ม ผลย่อย
แยกกัน ไร้ก้ำนหรือมีก้ำนสั้น ๆ ส่วนมำกผิวเรียบ เมล็ดแบน
สกุล Linostoma Wall. ex Endl. มี 4 ชนิด พบที่อินเดีย บังกลาเทศ พม่า
ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “linon” สกุล Mitrephora มีประมาณ 50 ชนิด พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ ไห่หนาน พม่า
ตาข่าย และ “stoma” ปาก หมายถึงลักษณะของปากใบรูปตาข่าย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย และออสเตรเลีย พบมากในบอร์เนียวและ
เอกสารอ้างอิง ฟิลิปปินส์ ในไทยมี 8 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “mitra” หมวก และ
Peterson, B. (1997). Thymelaeaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(3): 234-238. “phoreo” ถือหรือพยุง หมายถึงลักษณะของคาร์เพลที่คล้ายหมวก
328
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 328 3/1/16 6:14 PM