Page 352 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 352

มะกัก
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                ก้านใบยาว 2-4 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ตำมซอกใบ ก้ำนดอกยำวได้ถึง 4 ซม.   มะเกลือ, สกุล
                มีข้อต่อใกล้ปลำยก้ำน กลีบเลี้ยงรูปรี ยาวประมาณ 7 มม. ปลายแหลม ขยายในผล  Diospyros L.
                เล็กน้อย กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 7-8 มม. ปลายกลมหรือเว้าตื้น หลอดเกสรเพศผู้สั้น
                มีขนรูปดำวที่โคน มี 15-20 คาร์เพล ผลรูปครึ่งวงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 ซม.   วงศ์ Ebenaceae
                มี 15-20 ซีก ปลำยมีจะงอยสั้น ๆ กลีบเลี้ยงที่ขยำยสั้นกว่ำผล เมล็ดขนาดเล็ก   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น แยกเพศต่ำงต้นหรือร่วมต้นหรือมีดอกสมบูรณ์เพศอยู่ด้วย
                รูปคล้ายไต มีขนรูปดาวกระจาย                          ไม่มีหูใบ เปลือกส่วนมำกสีเทำด�ำ ใบเรียงสลับระนาบเดียว ดอกเพศผู้ส่วนมาก

                   พบที่อินเดีย ศรีลังกา ภูฏาน เนปาล จีน ไต้หวัน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย   ออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบ กิ่ง และล�าต้น กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวน
                ขึ้นเป็นวัชพืชทั่วไป แยกเป็นหลายชนิดย่อย ในไทยมี subsp. guineense   อย่างละ 3-7 กลีบ ดอกเพศเมียส่วนมำกออกเดี่ยว ๆ คล้ำยดอกเพศผู้แต่ขนำดใหญ่
                (Schumach.) Borss. Waalk. กลีบเลี้ยงที่ขยายในผลยาวเท่า ๆ ผล เรียวแคบ   กว่ำ กลีบเลี้ยงขยายในผล กลีบดอกเชื่อมติดกัน เกสรเพศผู้มี 4 อัน หรือหลายอัน
                ยาว 0.5-1 ซม. ใช้เป็นสมุนไพรอย่างแพร่หลายโดยเฉพาะในอินเดียและจีน   ก้านชูอับเรณูส่วนมากเกลี้ยง มีหรือไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันหรือรังไข่ที่ไม่เจริญ
                                                                     รังไข่มี 2-16 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1-2 เม็ด เกสรเพศเมียมี 2-8 อัน ยอดเกสรเพศเมีย
                  เอกส�รอ้�งอิง                                      แยก 2 แฉก ผลสดหรือแห้งมีหลายเมล็ด บางครั้งแข็ง เมล็ดแบน เอนโดสเปิร์ม
                   Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Malvaceae. In Flora of China Vol.   เรียบหรือเป็นชั้น
                      12: 278.
                   van Borssum Waalkes, J. (1996). Malesian Malvaceae revised. Blumea 14: 170.  สกุล Diospyros มีประม�ณ 500 ชนิด ส่วนใหญ่อยู่ในเขตร้อน ในไทยมีประม�ณ
                                                                       70 ชนิด ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�กรีก “dios” เกี่ยวกับเทพเจ้� และ “pyros” ข้�วส�ลี
                                                                       เป็นคำ�กรีกโบร�ณ “diospyron” ที่ใช้เรียกพืชหล�ยชนิดที่ผลรับประท�นได้

                                                                     มะเกลือ
                                                                     Diospyros mollis Griff.
                                                                       ไม้ต้น สูง 10-30 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งและใบอ่อน ก้านใบ และกลีบเลี้ยงด้านนอก
                  มะก่องข้ำว: ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ก้านดอกยาว กลีบดอกรูปไข่กลับ หลอดเกสรเพศผู้สั้น ผลมีหลายซีก มีขน  ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 4-8 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว เส้นแขนงใบ
                รูปดาวหนาแน่น ปลายมีจะงอยสั้น ๆ (ภาพ: กุยบุรี ประจวบคีรีขันธ์ - RP)  ข้างละ 10-15 เส้น ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ดอกเพศผู้กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 1-2 มม.
                มะกัก                                                มี 4 กลีบ แฉกลึกประมำณกึ่งหนึ่ง กลีบดอกรูปคนโท ยาว 6-8 มม. มี 4 กลีบ
                                                                     แฉกลึกประมาณกึ่งหนี่ง ก้านดอกยาวประมาณ 1 มม. เกสรเพศผู้ มี 14-24 อัน
                Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman                รังไข่ที่ไม่เจริญเกลี้ยงหรือมีขนยาว รังไข่มีขนสั้นนุ่ม มี 8 ช่อง เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน
                วงศ์ Anacardiaceae                                   มี 8-10 อัน ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 ซม. กลีบเลี้ยงปลำยแฉก
                                                                     ประมำณกึ่งหนึ่ง กลีบพับงอกลับ ก้านผลยาว 2-5 มม. เอนโดสเปิร์มเรียบ
                   ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 25 ม. กิ่งอ่อนมีขนสั้นนุ่ม ใบประกอบ 2 ชั้น เรียงเวียน
                ใบประกอบย่อยมี 3-5 คู่ คู่ล่ำงมักลดรูปเป็นใบเดี่ยว ใบย่อยมี 3-5 คู่ ใบปลำย   พบที่พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ
                ขนำดใหญ่กว่ำใบด้ำนข้ำง รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 2-8.5 ซม. ปลายแหลมยาวหรือ  ป่าดิบแล้ง หรือเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร รากและผลดิบใช้เป็น
                ยาวคล้ายหาง โคนกลม เบี้ยว แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน ก้านใบย่อยใบข้าง  ยาถ่ายพยาธิ ควรใช้ด้วยความระมัดระวังเนื่องจากมีพิษ ผลให้สีด�าใช้ย้อมผ้า
                สั้นมาก ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ยาวเท่า ๆ หรือยาวกว่าใบประกอบ
                ดอกจ�านวนมากสีขาว ใบประดับรูปแถบขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 4-6 มม. กลีบเลี้ยง   มะเกลือน้อย
                4 กลีบ รูปไข่ ยาวประมาณ 1 มม. มีขนประปราย กลีบดอก 4 กลีบ เรียงจรดกัน   Diospyros dumetorum W. W. Sm.
                รูปรี ยาวประมาณ 4 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน โคนก้านชูอับเรณูกว้าง จำนฐำนดอก
                จักเป็นพูตื้น ๆ 10 พู รังไข่มี 5 ช่อง ก้านเกสรเพศเมีย 5 อัน ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรี  ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 1-6 ซม. ปลาย
                หรือรูปไข่ ยาว 4-4.5 ซม. สุกสีเหลือง ก้านหนา         แหลมยาว แผ่นใบมีขนอุยหนำแน่น ร่วงเร็ว เส้นแขนงใบข้ำงละ 3-5 เส้น ก้านใบ
                   พืชถิ่นเดียวของไทย พบตามเขาหินปูนที่แห้งแล้งเตี้ย ความสูงไม่เกิน 300 เมตร   ยาว 2-3 มม. ดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ยาว 1-3 มม. แฉกลึกเกือบจรดโคน
                                                                     ด้านนอกมีขนสาก กลีบดอกรูปคนโท มี 4 กลีบ ยาว 3-5 มม. มีขนตามเส้นกลางกลีบ
                ทางภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตกเฉียงใต้   ก้านดอกยาวประมาณ 3 มม. เกสรเพศผู้มี 14-18 อัน มีขนคล้ำยไหม รังไข่ที่ไม่เจริญ
                                                                     มีหรือไม่มี เกลี้ยง รังไข่มีขนเอน เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันมี 7-9 อัน หรือไม่มี ผลรูปกลม
                   สกุล Spondias L. มีประม�ณ 25 ชนิด พบในอเมริก�และเอเชียเขตร้อน ใน
                   ไทยมี 5 ชนิด ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�กรีก “spodias” ที่ใช้เรียกพืชพวกมะกอกป่�   ปลายมีติ่งแหลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. สุกสีด�า กลีบเลี้ยงพับงอกลับ
                                                                     ก้านผลยาว 1-2 มม. เอนโดสเปิร์มเรียบ
                  เอกส�รอ้�งอิง                                        พบที่จีนตอนใต้ และภาคเหนือของไทยที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และ
                   Chayamarit, K. (2010). Anacardiaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 323.  ดอยตุง จังหวัดเชียงราย ขึ้นตามป่าดิบเขาที่เป็นหินปูน ความสูง 1300-1800 เมตร

                                                                      เอกส�รอ้�งอิง
                                                                       Li, S., M.G. Gilbert and F. White. (1996). Ebenaceae. In Flora of China Vol.
                                                                          15: 222.
                                                                       Phengklai, C. (1981). Ebenaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 310, 337-338.













                  มะกัก: ใบประกอบ 2 ชั้น ปลายใบแหลมยาว โคนกลม เบี้ยว ก้านใบย่อยใบข้างสั้นมาก ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง  มะเกลือ: ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ กลีบดอกแฉกลึกประมาณกึ่งหนี่ง กลีบเลี้ยงติดทน แฉกประมาณกึ่ง
                ออกที่ปลายกิ่ง ก้านผลหนา (ภาพ: สระบุรี - RP)         หนึ่ง พับงอกลับ (ภาพดอก: cultivated - PK; ภาพผล: นครราชสีมา - RP)

                332






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   332                                                                 3/1/16   6:05 PM
   347   348   349   350   351   352   353   354   355   356   357