Page 356 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 356
มะเค็ด
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
สกุล Gardneria Wall. มี 7 ชนิด พบในเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ มะจอเต๊ะ
ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งต�ม Edward Gardner ช�วอังกฤษที่เคยส่ง Ficus deltoidea Jack
ตัวอย่�งพรรณไม้ให้กับ William Hooker และ Nathaniel Wallich หรืออ�จเป็น
นักพฤกษศ�สตร์ช�วอังกฤษ George Gardner (1812-1849) วงศ์ Moraceae
ไม้พุ่ม หรืออิงอาศัย สูง 3-5 ม. มีรากอากาศ ล�าต้นและกิ่งเกลี้ยง เรียงซิกแซ็ก
เอกส�รอ้�งอิง ใบรูปไข่กลับหรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 1-8 ซม. ปลำยกลม โคนมน แหลม หรือ
Griffin, O. and J. Parnell. (1997). Loganiaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(3):
206-208. เรียวสอบ แผ่นใบหนา ด้ำนล่ำงมักมีสีน�้ำตำลแดงหรืออมเขียว เส้นกลำงใบแยก
2 แฉก มีต่อมสีด�ำที่โคนใบ โคนเส้นแขนงใบ และระหว่ำงเส้นกลำงใบที่แยก 2 แฉก
ก้านใบยาว 0.5-3 ซม. มีขนสั้น ๆ ดอกอยู่ภายในฐานดอกที่ขยายออกเดี่ยวๆ หรือ
เป็นคู่ตามซอกใบ เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. สีเขียว เหลือง ชมพู หรือแดงอมม่วง
ก้านยาวได้ถึง 1 ซม. มีขนสั้น รูเปิดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 มม. มีขน
ด้ำนในประปรำย ใบประดับ 3 อัน รูปสามเหลี่ยม ยาว 1-2 มม. มีขนครุย (ดู
ข้อมูลเพิ่มเติมที่ ไทร, สกุล)
พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา ชวา บอร์เนียว และภาคใต้ของไทย ขึ้นตาม
ป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร เป็นไม้ประดับ มีสรรพคุณใช้รักษาอาการ
ตกเลือดหลังคลอด ช่วยเลือดลมไหลเวียน ลดคลอเรสเตอรอลและความดันโลหิต
บ�ารุงก�าลัง และเชื่อว่าสามารถเพิ่มความก�าหนัดทางเพศ รู้จักกันในชื่อ ‘Mas Cotek’
มะเค็ด: ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุกหรือแยกแขนงสั้น ๆ ตามซอกใบ ดอกรูปกงล้อ กลีบดอก 4 กลีบ
หนา บานออก ปลายมีติ่งแหลม อับเรณูเชื่อมติดกัน (ภาพ: ทุ่งใหญ่นเรศวรตะวันออก ตาก - PK) ในมาเลเซีย อยู่ภายใต้สกุลย่อย Ficus แยกเป็น subsp. motleyana (Miq.) C. C.
Berg พบที่บอร์เนียว ส่วน subsp. deltoidea แบ่งออกเป็น var. angustifolia
มะเค็ด (Miq.) Corner ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่ เส้นกลางใบแยกเหนือกึ่งกลางใบ และ
Gelsemium elegans (Gardner & Champ.) Benth. var. kunstleri (King) Corner ใบรูปไข่กลับกว้าง เส้นกลางใบแยกใต้กึ่งกลางใบ
วงศ์ Gelsemiaceae เอกส�รอ้�งอิง
ชื่อพ้อง Medicia elegans Gardner & Champ. Berg, C.C., N. Pattharahirantricin and B. Chantarasuwan. (2011). Moraceae. In
Flora of Thailand Vol. 10(4): 513-515.
ไม้เถา ใบเรียงตรงข้ำม รูปไข่แกมรูปใบหอก ยาว 5-14 ซม. ปลายแหลมยาว Corner, E.J.H. (1960). Taxonomic notes on Ficus Linn., Asia and Australia.
ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกหนาแน่นที่ปลายกิ่ง ยาว Gardens’ Bulletin Singapore 17: 420-425.
ได้ถึง 12 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบขนาดเล็ก เรียงซ้อนเหลื่อม ขอบมีขนครุย ติดทน
ดอกรูปล�ำโพงสีเหลือง มีจุดสีแดงด้ำนใน ยาว 1.2-2 ซม. กลีบแฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง
ปลำยกลีบพับงอกลับ เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดประมาณกึ่งกลางหลอดกลีบดอก
ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 4 มม. ยื่นพ้นปากหลอด รังไข่มี 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมีย
ยาว 0.8-1.2 ซม. ยอดเกสรแยก 2 แฉก แต่ละแฉกจัก 2 พู ผลแห้งแตกเป็น 2 ซีก
รูปรีหรือรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5 ซม. มี 8-10 เมล็ดในแต่ละซีก รูปรี แบน ยาว 4-5 มม.
กลำงเมล็ดมีขน มีปีกรอบ จักชำยครุย
พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ ไต้หวัน พม่า ลาว เวียดนาม คาบสมุทรมลายู
บอร์เนียว ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบเขา และป่าดิบชื้นที่เป็น
หินปูน ความสูง 600-1500 เมตร น�้ายางมีสารแอลคาลอยด์หลายชนิดที่เป็นพิษ
มีฤทธิ์กระตุ้นให้หลั่งน�้าลาย สับสน สั่นหรือชัก ท�าให้หยุดหายใจได้ ใช้ในปริมาณที่
เหมาะสมมีสรรพคุณใช้รักษาโรคเนื้องอกในโพรงจมูก และเนื้องอกที่ผิวหนังบางชนิด
สกุล Gelsemium Juss. เคยอยู่ภ�ยใต้วงศ์ Loganiaceae มี 3 ชนิด พบใน
อเมริก�เหนือ และเอเชีย ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�อิต�ลี “gelsomino”
ที่ใช้เรียกพืชพวกมะลิ
มะจอเต๊ะ: var. kunstleri ใบรูปไข่กลับกว้าง เส้นกลางใบแยกใต้กึ่งกลางใบ (ภาพบน: cultivated - RP); มะจอเต๊ะ:
เอกส�รอ้�งอิง var. angustifolia ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่ เส้นกลางใบแยกเหนือกึ่งกลางใบ (ภาพล่าง: cultivated - RP)
Griffin, O. and J. Parnell. (1997). Loganiaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(3):
205-206. มะดูก
Siphonodon celastrineus Griff.
วงศ์ Celastraceae
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. หูใบขนาดเล็ก ใบเรียงเวียน รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกม
รูปไข่ ยาว 6.5-20 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว ขอบจักซี่ฟันหรือจักมนตื้น ๆ
ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกสั้น ๆ ตามซอกใบ บำงครั้ง
ลดรูปมีดอกเดียว ก้านดอกยาว 0.3-1 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง
1-2 มม. กลีบดอก 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อมที่โคน รูปไข่ปลายมน ยาว 2.5-3.5 มม.
เกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1 มม. แบนๆ เชื่อมติดกันที่โคน แกน
อับเรณูแผ่กว้ำงแยกอับเรณู วงเกสรเพศเมียแนบติดจำนฐำนดอก ปลำยเว้ำลึก
เกสรเพศเมียเป็นแท่งสั้น ๆ ติดที่โคน รังไข่มีหลำยช่องกระจัดกระจำย แต่ละช่อง
มีออวุลเม็ดเดียว ผลคล้ายผลผนังชั้นในแข็ง รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 3-5 ซม. ผิวขรุขระ
มีหลายไพรีน แข็ง เมล็ดรูปรี แบน ยาวประมาณ 8 มม.
มะเค็ด: ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ดอกสีเหลืองมีจุดสีแดงด้านใน เกสรเพศผู้ยื่นพ้นปาก พบที่อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และนิวกินี ขึ้นใน
หลอดกลีบดอก ผลแห้งแตก (ภาพซ้ายบน: ยูนนาน จีน - RP; ภาพซ้ายล่างและภาพขวา: แก่งกระจาน เพชรบุรี - PK) ป่าผลัดใบและไม่ผลัดใบ ชายป่า หรือเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
336
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 336 3/1/16 6:06 PM