Page 360 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 360

มะแฟน
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                     มะไฟ, สกุล
                                                                     Baccaurea Lour.
                                                                     วงศ์ Phyllanthaceae
                                                                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น แยกเพศต่ำงต้น หูใบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบ
                                                                     เรียงเวียนหนำแน่นช่วงปลำยกิ่ง ปลำยก้ำนใบพองหนำ เส้นแขนงใบย่อยแบบ
                                                                     ขั้นบันได ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงคล้ำยช่อกระจะ ออกตามซอกใบ กิ่ง
                                                                     หรือล�าต้น ดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุกประมาณ 3 ดอก ดอกเพศเมียกระจุกละ
                                                                     1-3 ดอก กลีบเลี้ยงส่วนมากมี 3-6 กลีบ ไม่มีกลีบดอกและจำนฐำนดอก เกสรเพศผู้
                  มะเฟือง: ใบประกอบมีใบย่อย 5-6 คู่ ช่อดอกออกตามกิ่ง มีข้อที่ใต้ดอก กลีบดอกเชื่อมติดกันเหนือก้านกลีบ    สั้นกว่ำกลีบเลี้ยง เป็นหมันในดอกเพศเมียหรือเป็นต่อมคล้ายจานฐานดอก รังไข่
                (ภาพ: cultivated - RP)
                                                                     2-4 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ลดรูปในดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมีย 2-4 อัน
                                                                     ยอดเกสรเรียบหรือจัก 2 พู หรือแยกจรดโคน ผลสด เมล็ดมีเยื่อหุ้ม
                                                                       สกุล Baccaurea เดิมอยู่ภ�ยใต้วงศ์ Euphorbiaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย Anti-
                                                                       desmatoideae มีประม�ณ 50 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อนและหมู่เก�ะแปซิฟิก
                                                                       ในไทยมี 13 ชนิด ส่วนใหญ่พบท�งภ�คใต้ ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�ละติน “baca”
                                                                       หรือ “bacca” ผลสด และ “aureus” สีเหลืองทอง ต�มลักษณะของผลบ�งชนิด

                                                                     มะไฟ
                                                                     Baccaurea ramiflora Lour.
                  ตะลิงปลิง: ใบประกอบมีใบย่อยจ�านวนมาก ช่อดอกออกตามล�าต้น เกสรเพศเมีย 5 อัน ผลไม่เป็นครีบ
                (ภาพ: cultivated; ภาพซ้าย - RP, ภาพขวา - MP)           ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 7-25 ซม.
                                                                     ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่ม เส้นแขนงใบข้างละ 4-9 เส้น ก้านใบยาว 1-6 ซม. ช่อดอก
                มะแฟน                                                ออกเป็นกระจุกหลายช่อ ยาว 8-15 ซม. ช่อดอกเพศเมียยาวไม่เกิน 10 ซม. ดอกสีเหลือง
                Protium serratum (Wall. ex Colebr.) Engl.            ใบประดับยำว 3-4.5 มม. ไม่มีใบประดับย่อย ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 1-2.5 มม.
                วงศ์ Burseraceae                                     กลีบเลี้ยง ยาว 1-2.5 มม. ดอกเพศเมียก้านดอกและกลีบเลี้ยงยาวกว่าเล็กน้อย
                  ชื่อพ้อง Bursera serrata Wall. ex Colebr.          เกสรเพศผู้ 5-8 อัน ไร้ก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสรยาวประมาณ 0.5 มม. เรียบ
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. แยกเพศต่ำงต้น มีน�้ำยำงใส เปลือกชั้นในหนำเป็นชั้น   ผลกลมหรือรูปไข่ ปลายมีติ่งแหลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.8 ซม. สุกสีเหลือง
                                                                     เมล็ดยาว 1-1.5 ซม. เยื่อหุ้มสีขำวหรืออมเหลือง
                มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ช่อดอก ก้านดอก ใบประดับ กลีบเลี้ยง
                และกลีบดอกด้านนอก หรือเกลี้ยง ไม่มีหูใบ ใบประกอบปลายคี่ ใบย่อยมี 2-4 คู่   พบที่อินเดียรวมหมู่เกาะนิโคบาร์ ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
                ก้านใบประกอบยาว 5-7 ซม. ใบย่อยรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 3-15 ซม.   คาบสมุทรมลายู ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา
                ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว ขอบจักฟันเลื่อยหรือเรียบ ก้านใบสั้น ใบย่อยใบปลาย  ความสูงถึงประมาณ 1700 เมตร ปลูกเป็นไม้ผล มีหลายพันธุ์ เปลือกและเนื้อไม้
                ยาวได้ถึง 4 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาวได้ถึง 15 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก   มีสรรพคุณต้านอนุมูลอิสระ
                ร่วงเร็ว ดอกสีครีม ก้านดอกยาว 1-2 มม. ขยายในผล กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม
                ขนาดเล็ก กลีบดอก 5 กลีบ รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 2-3 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน   มะไฟก�
                ติดด้ำนนอกจำนฐำนดอก ก้านชูอับเรณูสั้น เป็นหมันในดอกเพศเมีย จำนฐำนดอก  Baccaurea parviflora (Müll. Arg.) Müll. Arg.
                เป็นวง จักมน รังไข่มีขนสั้นนุ่ม มี 3-5 ช่อง ลดรูปในดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมียสั้น   ชื่อพ้อง Pierardia parviflora Müll. Arg.
                ยอดเกสรจัก 5 พู ผลผนังชั้นในแข็ง จักเป็นพู เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2.5 ซม. ผนังหนา
                ส่วนมำกมี 1-3 ไพรีน ขนาด 0.5-1 ซม. ใบเลี้ยงรูปฝ่ามือ   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว
                                                                     5-23 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่มหรือเรียวสอบ เส้นแขนงใบข้างละ 5-10 เส้น
                   พบที่อินเดีย ภูฏาน พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตาม  ก้านใบยาว 0.5-5.5 ซม. ช่อดอกออกเป็นกระจุกหลำยช่อที่โคนต้น ยาวได้ถึง
                ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร ผลรสเปรี้ยว   30 ซม. ใบประดับและใบประดับย่อยขนำดเล็ก ดอกสีขำว อมเหลือง หรือแดง
                บ�ารุงธาตุ ช่วยให้เจริญอาหาร                         ก้านดอกส่วนมากยาวได้ถึง 6 มม. ดอกเพศผู้กลีบเลี้ยงยาว 0.5-3 มม. ดอกเพศเมีย
                                                                     แคบและยาวกว่าเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 5-7 อัน เกสรเพศเมียไร้ก้านหรือยาวได้ถึง
                   สกุล Protium Burm. f. มีประม�ณ 85 ชนิด ส่วนใหญ่พบในอเมริก�เขตร้อน ใน
                   ไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลอ�จม�จ�กภ�ษ�ชว�ที่ใช้เรียกพืชสกุลนี้  2 มม. ยอดเกสรยาวได้ถึง 1.5 มม. จัก 2 พู ผลรูปกระสวย เส้นผ่านศูนย์กลาง
                                                                     1-1.5 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. มีสันตามยาว 4-6 สัน สีน�้ำตำลแดง เปลี่ยนเป็นสีม่วง
                  เอกส�รอ้�งอิง                                      เมล็ดยาว 1-1.5 ซม. เยื่อหุ้มสีแดงหรือม่วง
                   Peng, H. and M. Thulin. (2008). Burseraceae. In Flora of China Vol. 11: 106.
                   Pooma, R. (1999). A preliminary account of Burseraceae in Thailand. Thai Forest   พบที่อินเดีย คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และบอร์เนียว ในไทยพบกระจายห่าง ๆ
                      Bulletin (Botany) 27: 56.                      ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1250 เมตร

                                                                     มะไฟลิง
                                                                     Baccaurea racemosa (Reinw. ex Blume) Müll. Arg.
                                                                      ชื่อพ้อง Coccomelia racemosa Reinw. ex Blume
                                                                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน แกมรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 5-22 ซม.
                                                                     ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่ม เส้นแขนงใบข้างละ 4-10 เส้น ก้านใบยาว 1.2-7.5 ซม.
                                                                     ช่อดอกออกเป็นกระจุก 1-5 ช่อ ตามล�าต้นหรือใต้ใบ ช่อเพศผู้ยำวได้ถึง 10 ซม.
                                                                     ช่อเพศเมียยาวได้ถึง 30 ซม. ใบประดับและใบประดับย่อยขนำดเล็ก ดอกสีเหลือง
                                                                     อมเขียว ก้านดอกยาวได้ถึง 7 มม. กลีบเลี้ยงยาว 1-6 มม. ในดอกเพศเมียก้านดอก
                  มะแฟน: ใบประกอบ ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ผลจักเป็นพู (ภาพดอก: จันทบุรี - SR;   และกลีบเลี้ยงยาวกว่าในดอกเพศผู้ เกสรเพศผู้ 5-7 อัน เกสรเพศเมียยาวประมาณ
                ภาพผล: เชียงใหม่ - SSi)

                340






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   340                                                                 3/1/16   6:06 PM
   355   356   357   358   359   360   361   362   363   364   365