Page 361 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 361
มะยม
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
1 มม. ยอดเกสรยาวประมาณ 0.3 มม. เรียบ ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม. เป็น 3 กลีบ ปลายมนกลม ไม่มีกลีบดอก ช่อดอกเพศผู้ยาวได้ถึง 25 ซม. แยกแขนง
สุกสีเหลืองอมส้มหรือชมพูอมแดง เมล็ดยาวประมาณ 1 ซม. เยื่อหุ้มสีม่วงหรืออมฟ้ำ ดอกไร้ก้าน กลีบเลี้ยงยาว 3-4 มม. จานฐานดอกเป็นวงหรือจักเป็นพู เกสรเพศผู้
พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา ชวา บอร์เนียว ซูลาเวซี ในไทยพบทางภาคใต้ 3-4 อัน ยื่นพ้นหลอดกลีบเลี้ยงเล็กน้อย ช่อดอกเพศเมียสั้นกว่าเพศผู้ ก้านดอกยาว
ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงระดับต�่า ๆ และป่าพรุน�้าจืด 0.5-2 มม. ขยายในผล จานฐานดอกเป็นวง รังไข่เกลี้ยงหรือมีขนประปราย มีช่องเดียว
ออวุล 2 เม็ด ยอดเกสรเพศเมีย 3-4 อัน สั้น ติดทน ผลรูปรี ยาว 0.5-1.2 ซม.
เอกส�รอ้�งอิง ผลแก่สีแดงเปลี่ยนเป็นสีด�า ส่วนมากมีเมล็ดเดียว
Haegens, R.M.A.P. and P.C. van Welzen (2007). Euphorbiaceae (Baccaurea).
In Flora of Thailand Vol. 8(2): 107-119. พบที่อินเดียรวมหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า
Li, B. and M.G. Gilbert. (2008). Euphorbiaceae (Baccaurea). In Flora of China ภูมิภาคอินโดจีน บอร์เนียว ชวา ฟิลิปปินส์ นิวกินี หมู่เกาะแปซิฟิก และฮาวาย
Vol. 11: 216. ในไทยพบแทบทุกภาคยกเว้นภาคใต้ และเป็นไม้ผล เคยแยกเป็น var. pubescens
Petra Hoffm. ซึ่งส่วนต่าง ๆ มีขนสั้นนุ่มหนาแน่น รากและใบมีพิษ แต่มีสรรพคุณ
แก้แผลฟกช�้า
สกุล Antidesma Burm. ex L. เคยอยู่ภ�ยใต้วงศ์ Euphorbiaceae ปัจจุบันอยู่
วงศ์ย่อย Antidesmatoideae มีประม�ณ 150 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อนและ
กึ่งเขตร้อน แอฟริก� ออสเตรเลีย และหมู่เก�ะแปซิฟิก ในไทยมี 18 ชนิด
ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�กรีก “anti” ต่อต้�น และ “desma” แถบหรือเชื่อมติดกัน
อ�จหม�ยถึงลักษณะของช่อผลที่ผลเป็นส�ยไม่เชื่อมติดกัน
เอกส�รอ้�งอิง
Hoffman, P. (2007). Euphorbiaceae (Antidesma). In Flora of Thailand Vol. 8(2): 51-81.
มะไฟ: ช่อผลออกเป็นกระจุกตามกิ่ง ผลกลมหรือรูปไข่ ปลายมีติ่งแหลม (ภาพ: cultivated - PPh)
มะเม่ำดง: ใบเรียงเวียน ช่อผลออกตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ผลแก่สีแดง สุกจะเปลี่ยนเป็นสีด�า (ภาพ: cultivated - PK)
มะยม
Phyllanthus acidus (L.) Skeels
วงศ์ Phyllanthaceae
ชื่อพ้อง Averrhoa acida L.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 2.5-10 ซม. ปลายมี
ติ่งแหลม โคนมน ช่อดอกมีดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุก 2-6 ดอกมักออกที่โคนช่อ
มะไฟกำ: ช่อดอกออกที่โคนต้น ผลรูปกระสวย (ภาพช่อดอกและช่อผลแก่: นราธิวาส - MP; ภาพช่อผล: เพชรบุรี - TT) ตามซอกใบหรือตามกิ่ง ช่อดอกเพศเมียส่วนมากออกตามกิ่ง ก้านดอกยาว 0.5-3 มม.
ขยายในผลยาว 2-5 มม. กลีบเลี้ยงสีแดง รูปไข่ ยาว 1-2 มม. ดอกเพศผู้มี 4 กลีบ
แคบกว่ำในดอกเพศเมียเล็กน้อย จำนฐำนดอกเป็นต่อม 4 ต่อม ดอกเพศเมียมี
4-6 กลีบ จำนฐำนดอกเป็นต่อม 4-6 ต่อม เกสรเพศผู้ 4 อัน แยกกัน ยาวประมาณ
5 มม. บางครั้งมี 1-2 อันในดอกเพศเมีย ลดรูป รังไข่จัก 6-8 พู ก้านเกสรเพศเมีย
3-4 อัน ยาว 1-6 มม. ผลจัก 6-8 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.7 ซม. เมล็ดกลม
แกมรูปสามเหลี่ยมมน ยาว 5-8 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ผักหวานดง, สกุล)
อาจมีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ ปลูกเป็นไม้ผลหรือไม้มงคลทั่วไปในเขตร้อน
ส่วนต่าง ๆ มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง
เอกส�รอ้�งอิง
มะไฟลิง: ช่อดอกคล้ายช่อกระจะ ออกใต้ใบ ผลกลม สุกสีเหลืองอมส้ม (ภาพ: ขนอม นครศรีธรรมราช - RP) Chantaranothai, P. (2007). Euphorbiaceae (Phyllanthus). In Flora of Thailand
Vol. 8(2): 477-479.
มะเม่�ดง
Antidesma bunius (L.) Spreng.
วงศ์ Phyllanthaceae
ชื่อพ้อง Stilago bunius L.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. แยกเพศต่ำงต้น ล�าต้นมักมีร่องและพูพอน มีขนสั้นนุ่ม
สีน�้าตาลแดงประปรายหรือหนาแน่นตามกิ่งอ่อน หูใบ ก้านใบ แผ่นใบด้านล่าง
ใบประดับ และกลีบเลี้ยง หูใบรูปแถบ ยำว 4-6 มม. ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรีถึง
รูปใบหอกหรือแกมรูปไข่กลับ ส่วนมากยาว 10-18 ซม. ปลายแหลมยาว โคนแหลม
หรือกลม ก้านใบสั้นหรือยาวกว่า 1 ซม. ช่อดอกคล้ำยช่อกระจะออกตำมซอกใบ
ใบประดับขนาดเล็ก มีดอกเดียว ไร้ก้ำน กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเกินกึ่งหนึ่ง ปลำยแยก มะยม: ช่อดอกออกเป็นกระจุกตามกิ่ง ก้านเกสรเพศเมีย 3-4 อัน รังไข่และผลจักเป็นพู (ภาพ: cultivated - RP)
341
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 341 3/1/16 6:07 PM