Page 358 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 358

มะเนียงน�้า
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                ฟันเลื่อยหรือจักมน ก้านใบยาว 0.5-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงออกตำม  เฉพ�ะในยุโรป คือ A. hippocastanum L. หรือ Horse-chestnut ชื่อสกุลเป็น
                ปลำยกิ่ง ยำวได้ถึง 20 ซม. ดอกจ�านวนมาก ก้านดอกยาว 1.5-3.5 มม. กลีบเลี้ยง   ภ�ษ�ละตินที่ใช้เรียกพืชคล้�ยพวก oak ชนิดหนึ่ง
                5 กลีบ รูปกลม ยาวประมาณ 1 มม. ดอกสีเขียวอ่อน มี 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม
                รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 2.5-3 มม. จำนฐำนดอกรูปถ้วย เกสรเพศผู้   เอกส�รอ้�งอิง
                                                                       Phengklai, C. (1981). Hippocastanaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 395-397.
                5 อัน ยาวประมาณ 3 มม. ติดบนขอบจำนฐำนดอก เป็นหมันในดอกเพศเมีย   Xia, N., N.J. Turland and P.A. Gadek. (2007). Hippocastanaceae. In Flora of
                รังไข่มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ลดรูปในดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมียเป็นแท่ง   China Vol. 12: 2-4.
                ยอดเกสรแยก 3 พู ติดทน ผลแห้งแตก รูปรีเกือบกลม ยาว 0.5-1 ซม. แตกเป็น 3 ส่วน
                มี 3-6 เมล็ด รูปรี ยาว 3.5-5 มม. เยื่อหุ้มสีส้มแดง
                   พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลีย และ
                หมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่าเบญจพรรณ ป่าโปร่ง ป่าดิบแล้ง
                ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร ในจีนน�้ามันที่ได้จากเมล็ด
                ใช้ท�าน�้ามันตะเกียงและสบู่ และก�าลังได้รับการศึกษาสรรพคุณทางสมุนไพรใน
                การรักษาโรคทางประสาท

                   สกุล Celastrus L. มีประม�ณ 30 ชนิด พบในอเมริก� ม�ด�กัสก�ร์ เอเชีย และ
                   ออสเตรเลีย แต่ส่วนใหญ่พบในประเทศจีน ในไทยมี 5 ชนิด ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�
                   กรีก “kelastros” หม�ยถึงพืชที่มีผลสีแดงใช้ประดับในเทศก�ลศ�สน�คริสต์
                  เอกส�รอ้�งอิง
                   Hou, D., I.A. Savinov and P.C. van Welzen. (2010). Celastraceae. In Flora of
                      Thailand Vol. 10(2): 151.
                   Zhang, Z. and M. Funston. (2008). Celastraceae (Celastrus). In Flora of China   มะเนียงน�้ำ: ใบประกอบรูปฝ่ามือ ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง กลีบดอกมีปื้นเหลือง โคนสีส้มหรือแดง ผลแห้งแตก
                      Vol. 11: 467.                                  (ภาพซ้าย: กาญจนบุรี - RP; ภาพขวาบน: อุ้มผาง ตาก - PK: ภาพขวาล่าง: ดอยตุง เชียงราย - RP)
                                                                     มะฝ่อ
                                                                     Mallotus nudiflorus (L.) Kulju & Welzen
                                                                     วงศ์ Euphorbiaceae
                                                                      ชื่อพ้อง Trewia nudiflora L.
                                                                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 6-20 ซม. โคนเว้ำ
                                                                     หรือมน มีต่อม 2-5 ต่อม ขอบใบมีต่อมจ�ำนวนมำก แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่ม
                                                                     เส้นโคนใบข้างละ 1-2 เส้น เส้นแขนงใบข้างละ 3-7 เส้น มักมีต่อมใบเป็นกระจุกขน
                                                                     ช่อดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุก 1-3 ช่อ ยาวได้ถึง 30 ซม. ช่อดอกเพศเมียยาวได้ถึง
                                                                     10 ซม. ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุกประมำณ 3 ดอก ดอกเพศเมีย
                                                                     ออกเดี่ยว ๆ ก้านดอกยาว 0.4-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ในดอกเพศผู้มี 3 กลีบ ยาว
                                                                     3-6 มม. ในดอกเพศเมียมี 3-5 กลีบ ยาวกว่าเล็กน้อย เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ยาว
                                                                     ประมาณ 5 มม. รังไข่ 3-5 ช่อง มีขนสั้นนุ่ม แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด ยอดเกสรเพศเมีย
                  มะแตก: ใบเรียงเวียน ขอบจักฟันเลื่อย ผลแห้งแตกเป็น 3 ส่วน เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีส้มแดง (ภาพ: น�้าหนาว เพชรบูรณ์ - PK)  แยก 3-5 แฉก ยำว 1.2-2.4 ซม. มีปุ่มกระจำย ผลรูปรีกว้าง กว้าง 3.5-4.5 ซม.
                                                                     ผนังหนา เมล็ดรูปไข่ ยาว 0.8-1.2 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตองเต้า, สกุล)
                มะเนียงน้ำ�                                            พบที่อินเดีย เนปาล ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
                Aesculus assamica Griff.                             ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค ส่วนมากพบริมล�าธาร ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร
                วงศ์ Sapindaceae                                     ใบใช้เลี้ยงสัตว์ มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดจากโรคเกาต์และโรคข้อ
                   ไม้ต้นผลัดใบ สูง 15-30 ม. เปลือกเรียบ มีช่องอากาศ ยอดมีเกล็ดตำหุ้ม ใบประกอบ  เอกส�รอ้�งอิง
                รูปฝ่ำมือ เรียงตรงข้ำม มี 5-9 ใบ ก้านใบยาว 10-25 ซม. ใบย่อยรูปใบหอกกลับ   Kulju, K.K.M., P.C. van Welzen and W. Nanakon. (2007). Euphorbiaceae
                ใบกลางใหญ่กว่าใบข้าง ยาว 12-35 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลม โคนรูปลิ่ม ขอบจัก  (Trewia). In Flora of Thailand Vol. 8(2): 568-571.
                ฟันเลื่อย เส้นแขนงใบจ�านวนมาก ก้านใบย่อยสั้นหรือยาวได้ถึง 2 ซม. ช่อดอก  Kulju, K.K.M., S.E.C. Sierra and P.C. van Welzen. (2007). Re-shaping Mallotus
                                                                          [part 2]: Inclusion of Neotrewia, Octospermum and Trewia in Mallotus s.s.
                แบบช่อกระจุกแยกแขนง ยาวถึง 70 ซม. รวมก้าน ช่อกระจุกยาว 1.5-8 ซม. ก้านดอก  (Euphorbiaceae s.s.). Blumea 52: 115-136.
                ยาว 3-7 มม. กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาว 4-8 มม. ปลายแยกเป็น 4 กลีบ
                ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม ดอกสมมำตรด้ำนข้ำง กลีบดอก 4 กลีบ สีขำว มีปื้นเหลือง
                โคนสีส้มหรือแดง กลีบขนำดไม่เท่ำกัน รูปใบหอกกลับ ยาว 2-2.5 ซม. ด้านนอก
                มีขนละเอียด เกสรเพศผู้ 5-7 อัน ยาว 2-4 ซม. รังไข่ 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด
                ก้านเกสรเพศเมียเกลี้ยงหรือมีขน ผลแห้งแตกสีน�้าตาล รูปรีกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง
                2.5-3 ซม. เปลือกหนา ก้านผลยาว 2-4 ซม. ส่วนมากมีเมล็ดเดียวที่เจริญ กลม
                เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-7 มม. ขั้วเมล็ดสีขาว
                   พบที่อินเดีย ภูฏาน บังกลาเทศ พม่า จีนตอนใต้ ลาว และเวียดนาม ในไทยพบ
                ทางภาคเหนือที่เชียงราย เชียงใหม่ ตาก ก�าแพงเพชร และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่
                กาญจนบุรี ขึ้นตามริมล�าธารในป่าดิบแล้ง หรือที่ลาดชันในป่าดิบเขา ความสูง
                100-1300 เมตร มีสรรพคุณเป็นยาขับปัสสาวะ ใบคั้นหยอดตาแก้อักเสบ
                   สกุล Aesculus L. เคยอยู่ภ�ยใต้วงศ์ Hippocastanaceae ปัจจุบันอยู่ภ�ยใต้
                   วงศ์ย่อย Hippocastanoideae ร่วมกับสกุล Acer มีประม�ณ 12 ชนิด ส่วนม�ก  มะฝ่อ: ช่อดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุก เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ผลผนังชั้นในแข็ง ผนังหนา รูปรีกว้าง (ภาพดอก:
                   พบในอเมริก�เหนือและเอเชียตะวันออก ชนิดที่นิยมปลูกเป็นไม้ข้�งถนนโดย  เชียงใหม่ - RP; ภาพผล: ตาก - NP)


                338






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   338                                                                 3/1/16   6:06 PM
   353   354   355   356   357   358   359   360   361   362   363