Page 354 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 354
มะขามป้อมดิน
มะข�มป้อมดิน สารานุกรมพืชในประเทศไทย ขนำดเล็ก ปลายแหลมหรือแหลมยาว ก้านใบย่อยสั้น ช่อดอกยาว 1.5-2.5 ซม.
Phyllanthus sootepensis Craib ใบประดับรูปขอบขนาน ยาว 0.3-1 ซม. ใบประดับย่อยยาว 3-4 มม. ก้านดอกยาว
0.7-1.5 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ยาวไม่เท่ากัน ยาว 3-4 มม. กลีบดอกรูปใบหอก ยาว
วงศ์ Phyllanthaceae 5-8 มม. เกสรเพศผู้มีประมาณ 10 อัน รังไข่มีขนสั้นนุ่ม มีก้านสั้น ก้านเกสรเพศเมีย
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3 ม. ล�ำต้นเกลี้ยง หูใบรูปลิ่มแคบ ยาว 2-5 มม. ใบเรียงสลับ ยาวประมาณ 5 มม. ผลรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 2-5 ซม. มีจะงอยใกล้ปลำยผล ผิวย่น
ระนาบเดียว รูปรีหรือรูปไข่ เบี้ยวเล็กน้อย ยาว 1.2-1.8 ซม. ปลายมน กลม หรือ พบที่อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทาง
มีติ่งแหลม โคนเบี้ยว เส้นแขนงใบข้ำงละ 4-6 เส้น ก้านใบยาว 0.5-1 มม. ดอกเพศผู้ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามชายป่าโกงกางหรือป่าดิบชื้น ความสูงถึง
ออกเป็นกระจุกตามซอกใบช่วงล่างของกิ่ง ก้านดอกยาว 0.4-1 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ
รูปไข่กลับหรือกลม ยาว 1.2-2 มม. ขอบจักชำยครุย จำนฐำนดอกเป็นต่อม 4 ต่อม ประมาณ 400 เมตร มักพบปลูกตามวัดอาจเข้าใจว่าเป็นต้นโสก Saraca indica L.
รูปรี เกสรเพศผู้ 4 อัน เชื่อมติดกันที่โคน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ ตำมซอกใบ เปลือกและรากมีสรรพคุณเป็นยาระบาย ใบต้านเชื้อแบคทีเรียและไวรัสตามผิวหนัง
ช่วงปลำยกิ่ง ก้านดอกยาวกว่าในดอกเพศผู้ ขยำยในผลได้ถึง 2.5 ซม. กลีบเลี้ยง เอกส�รอ้�งอิง
6 กลีบ รูปรีกว้าง ยาว 1.6-3.8 มม. ขอบจักชายครุยไม่ชัดเจน จำนฐำนดอกเป็น Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
ต่อม 6 ต่อม รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียสั้นมาก ยอดเกสรแยก 2 แฉก ผลกลม In Flora of Thailand Vol. 4(1): 48-49.
เส้นผ่ำนศูนย์กลำง 2.5-3 มม. เมล็ดรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1.5 มม. (ดู
ข้อมูลเพิ่มเติมที่ ผักหวานดง, สกุล)
พบที่จีนตอนใต้ ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ
ภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าเต็งรัง และป่าเบญจพรรณ ความสูงถึงประมาณ
1300 เมตร
เอกส�รอ้�งอิง
Chantaranothai, P. (2007). Euphorbiaceae (Phyllanthus). In Flora of Thailand
Vol. 8(2): 503.
Li, B. and M.G. Gilbert. (2008). Euphorbiaceae (Phyllanthus). In Flora of China
Vol. 11: 183. มะคะ: ใบประกอบส่วนมากมีคู่เดียว ถ้ามีใบย่อย 2 คู่ คู่ล่างขนาดเล็ก ก้านใบประกอบสั้น แผ่นใบเบี้ยว ผลผิวย่น
ปลายมีจะงอย (ภาพ: cultivated - SSi)
อัมพวำ: ช่อดอกออกตามล�าต้น เกสรเพศผู้ส่วนมากมี 10 อัน (ภาพ: cultivated - PK)
มะคังดง
Ostodes paniculata Blume
มะขำมป้อมดิน: ดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุกตามซอกใบช่วงล่างของกิ่ง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ขอบจักชายครุย จานฐานดอก
เป็นต่อม 4 ต่อม ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ กลีบเลี้ยง 6 กลีบ ติดทน ก้านดอกขยายในผล (ภาพ: ทุ่งใหญ่นเรศวร ตาก - PK) วงศ์ Euphorbiaceae
มะคะ, สกุล ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. แยกเพศต่ำงต้นหรือร่วมต้น เปลือกมีน�้ำยำงสีแดง กิ่งมี
Cynometra L. ช่องอากาศ หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 10-24 ซม.
ปลายแหลมหรือแหลมยาว ก้านใบยาว 3.5-20 ซม. ปลำยก้ำนมีต่อม 2 ต่อม ช่อดอก
วงศ์ Fabaceae แบบช่อกระจุกแยกแขนง ห้อยลง ยาว 8-13 ซม. ช่อดอกเพศเมียสั้น กลีบเลี้ยงและ
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ใบประกอบมีใบย่อย 1-3 คู่ ใบย่อยเบี้ยว ช่อดอกออกเป็น กลีบดอกจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ดอกสีขาวหรืออมชมพู
ช่อกระจะสั้น ๆ เป็นกระจุกตามซอกใบหรือล�าต้น ฐานดอกสั้น กลีบเลี้ยงมี 4-5 กลีบ กลีบรูปไข่ ดอกเพศผู้กลีบเลี้ยงยาว 4-5 มม. กลีบดอกยาว 6-7 มม. เกสรเพศผู้
พับงอกลับ กลีบดอก 5 กลีบ กลีบล่าง 1 กลีบ มักมีขนาดเล็ก เกสรเพศผู้ส่วนมำก จ�านวนมาก ยาวเท่า ๆ กลีบดอก วงในเชื่อมติดกันที่โคนมำกกว่ำวงนอก จำนฐำนดอก
มี 10 อัน หรือมีได้ถึง 15 อัน แยกกัน รังไข่มีช่องเดียว ออวุล 1-2 เม็ด ผลเป็นฝัก เป็นต่อม 5-6 ต่อม ดอกเพศเมียกลีบเลี้ยงยาว 5-8 มม. ไม่ขยำยในผล กลีบดอก
รูปไข่ งอสั้น ๆ หรือรูปคล้ายไต แห้งไม่แตก ผนังกั้นหนา ผิวเรียบหรือย่น ยาวประมาณ 1 ซม. จำนฐำนดอกเป็นวง รังไข่มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด
ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน ยาว 2-3 มม. ปลายแยก 2 แฉก ติดทน ผลแห้งแตก เปลือกแข็ง
สกุล Cynometra อยู่ภ�ยใต้วงศ์ย่อย Caesalpinioideae เผ่� Detarieae คล้�ยกับ จัก 3 พู ตื้น ๆ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-3.5 ซม. มีขนสั้นนุ่ม เมล็ดรูปไข่ ยาว 1-1.5 ซม.
สกุลลำ�ภูร� Maniltoa แต่มีจำ�นวนเกสรเพศผู้น้อยกว่� มี 80-90 ชนิด พบใน พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู
อเมริก�เขตร้อน แอฟริก� ม�ด�กัสก�ร์ เอเชียเขตร้อน ออสเตรเลีย และหมู่เก�ะ สุมาตรา และชวา ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา และป่าดิบชื้น
แปซิฟิก ในไทยเป็นพืชพื้นเมือง 4 ชนิด เป็นไม้ประดับ 1 ชนิด คือ อัมพว� ความสูง 400-1500 เมตร
C. cauliflora L. ที่ช่อดอกออกต�มลำ�ต้น ผลสุกกินได้ มีถิ่นกำ�เนิดในอินโดนีเซีย
ชื่อสกุลม�จ�กภ�ษ�กรีก “cyno” สุนัข และ “metro” มดลูก ต�มลักษณะของผล สกุล Ostodes Blume มีชนิดเดียว แยกเป็น var. katharinae (Pax) Chakrab. &
N. P. Balakr. ช่อดอกและรังไข่มีขนสั้นนุ่ม เกสรเพศผู้มีม�กกว่� ก�รกระจ�ยพันธ์ุ
มะคะ เช่นเดียวกับ var. paniculata ชื่อสกุลเป็นภ�ษ�กรีก หม�ยถึงเหมือนกระดูก
อ�จหม�ยถึงช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ห้อยลง
Cynometra ramiflora L.
เอกส�รอ้�งอิง
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ใบประกอบมีใบย่อย 1-2 คู่ ก้านใบประกอบยาว 3-5 มม. Phattarahirankanok, K. and K. Chayamarit. (2007). Euphorbiaceae (Ostodes).
ใบย่อยรูปรี รูปขอบขนาน หรือเกือบกลม ยาว 5-20 ซม. ถ้ำมีใบย่อย 2 คู่ คู่ล่ำง In Flora of Thailand Vol. 8(2): 460-463.
334
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 334 3/1/16 6:05 PM