Page 387 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 387
รสสุคนธ์, สกุล สารานุกรมพืชในประเทศไทย รองเท้านารีคางกบ
Tetracera L.
วงศ์ Dilleniaceae
ไม้พุ่มหรือไม้เถา ใบเรียงเวียน ขอบเรียบหรือจักฟันเลื่อย มีกาบ ช่อดอกแบบ
ช่อแยกแขนงออกที่ปลายกิ่ง ดอกจ�านวนมาก ฐานดอกแบน กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ
แยกจรดโคน ไม่ขยายในผล กลีบดอก 3-5 กลีบ แยกจรดโคน เกสรเพศผู้จ�านวนมาก
ถุงอับเรณูรูปใบหอก สั้น แกนอับเรณูรูปคล้ายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน มี 1-5 คาร์เพล
แยกกัน แต่ละคาร์เพลมีออวุล 4-20 เม็ด ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม ผลเป็นฝักแตก
1-2 แนว รูปไข่ ผนังหนา เมล็ดมีเยื่อหุ้มจักชายครุย รสสุคนธ์: T. sarmentosa ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงออกที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงอมส้ม
จักชายครุย (ภาพ: บางเบิด ชุมพร - RP)
สกุล Tetracera อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Delimoideae มีประมาณ 45 ชนิด ในไทยมี
4 ชนิด อีก 2 ชนิดคือ ลิ้นแรด T. scandens (L.) Merr. มีคาร์เพลเดียว มีขนสั้นนุ่ม
ส่วนมากพบทางภาคใต้ และ เถาอรคนธ์ T. indica (Christm. & Panz.) Merr.
มี 3-4 คาร์เพล เกลี้ยง แต่กลีบเลี้ยงมี 4 กลีบ ส่วนใหญ่พบทางภาคใต้เช่นเดียวกัน
ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “tetra” สี่ และ “keras” เขา ตามลักษณะผลบางชนิด
รสสุคนธ์
ลิ้นแรด: T. scandens มีคาร์เพลเดียว มีขนสั้นนุ่ม (ภาพ: ตรัง - RP) เถาอรคนธ์: T. indica กลีบเลี้ยง 4 กลีบ มี
Tetracera loureiri (Finet & Gagnep.) Pierre ex Craib 3-4 คาร์เพล เกลี้ยง (ภาพ: ตรัง - RP)
ชื่อพ้อง Tetracera sarmentosa (L.) Vahl var. loureiri Finet & Gagnep.
ไม้เถา ล�าต้นและใบสากเล็กน้อย ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ส่วนมากยาว 6-10 ซม. รองเท้านารี, สกุล
ปลายมนหรือกลม โคนแหลมหรือมน ก้านใบยาว 0.7-1 ซม. ช่อดอกยาวได้ถึง 20 ซม. Paphiopedilum Pfitzer
ก้านดอกยาว 3-7 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่ คู่นอกยาวประมาณ 5 มม. 3 กลีบใน วงศ์ Orchidaceae
ยาวประมาณ 7 มม. ติดทน ดอกสีขาวหรืออมชมพู มี 3 กลีบ รูปไข่แคบ ๆ ยาวประมาณ กล้วยไม้ขึ้นตามพื้นดิน บนหิน หรือคบไม้ ล�าต้นขนาดเล็ก ไม่มีล�าต้นเทียม
5 มม. เกสรเพศผู้ยาวกว่ากลีบเลี้ยง มี 2-3 คาร์เพล เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมีย (ล�าลูกกล้วย) ใบเรียงพับซ้อนกัน แผ่นใบส่วนมากมีลาย ปลายส่วนมากจักตื้น ๆ
ยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ผลยาว 7-8 มม. ปลายเป็นจะงอย ยาว 2-3 มม. มี 1-2 เมล็ด 2-3 แฉก โคนมักมีขนครุย ช่อดอกมีดอกเดียวหรือหลายดอก ก้านช่อดอกส่วนมาก
เมล็ดรูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม. เยื่อหุ้มเมล็ดที่โคน ยาวได้ถึง 6 มม. มีขนสั้นนุ่ม ใบประดับติดทน กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลีบบนมักจะมีขนาดใหญ่ กลีบคู่ข้าง
พบที่กัมพูชา เวียดนาม ในไทยพบกระจายแทบทุกภาค ยกเว้นภาคเหนือ และ เชื่อมติดกัน กลีบดอก 3 กลีบ แยกกัน กลีบคู่ในกางออก ห้อยลง หรือบิดเวียน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นตามชายป่า ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร กลีบปากเป็นถุง เส้าเกสรไม่มีฝาครอบ เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันเป็นแผ่นปิดเส้าเกสร
อับเรณูที่สมบูรณ์ 2 อัน อยู่ด้านข้าง รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ มีช่องเดียว เชื่อมติดก้านดอก
รสสุคนธ์ ส่วนมากมีขน ยอดเกสรเพศเมียจัก 3 พู ผลแห้งแตก เมล็ดขนาดเล็กจ�านวนมาก
Tetracera sarmentosa (L.) Vahl สกุล Paphiopedilum อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Cypripedioideae มี 80-85 ชนิด ใน
ชื่อพ้อง Delima sarmentosa L. ไทยมีประมาณ 14 ชนิด กล้วยไม้รองเท้านารีมีการผสมข้ามพันธุ์จำานวนมาก
ไม้เถา ล�าต้นและใบสาก ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ส่วนมากยาว 5-11 ซม. รวมถึงในธรรมชาติ ทำาให้มีลักษณะของ form จำานวนมาก โดยเฉพาะสีของดอก
ปลายแหลมหรือมน โคนรูปลิ่มกว้าง เบี้ยว ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกยาวได้ถึง และลายต่าง ๆ ทุกชนิดเป็นพืชอนุรักษ์ในบัญชีที่ 1 ของ CITES ชื่อสกุลมาจาก
25 ซม. ก้านดอกยาว 1-5 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่ปลายมน ขอบมีขนครุย ภาษากรีก Paphos ชื่ออีกชื่อหนึ่งของเทพเจ้ากรีกโบราณ (Aphrodite) ซึ่งเป็น
คู่นอกยาวประมาณ 2 มม. 3 กลีบในยาว 4-5 มม. ติดทน ดอกสีขาว มี 3 กลีบ รูปไข่ เทพแห่งความรักใคร่ และ “pedilon” รองเท้า ตามลักษณะของดอก
ยาวประมาณ 3.5 มม. เกสรเพศผู้ยาว 3-4 มม. ส่วนมากมีคาร์เพลเดียว เกลี้ยง
ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ผลยาว 0.6-1 ซม. ปลายเป็นจะงอย รองเท้านารีขาวสตูล
ยาว 2-5 มม. ส่วนมากมีเมล็ดเดียว เมล็ดรูปไข่ ยาวประมาณ 4 มม. เยื่อหุ้มเมล็ด Paphiopedilum niveum (Rchb. f.) Stein
ที่โคน ยาวได้ถึง 5 มม. สีแดงอมส้ม ชื่อพ้อง Cypripedium niveum Rchb. f.
พบที่อินเดีย หมู่เกาะอันดามัน ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ไห่หนาน ภูมิภาคอินโดจีน กล้วยไม้ขึ้นตามพื้นดิน ใบรูปขอบขนานถึงรูปแถบ ยาว 8-19 ซม. แผ่นใบด้านล่าง
คาบสมุทรมลายู และสุมาตรา ในไทยพบกระจายตามป่าชายหาดและชายป่าดิบชื้น มีจุดสีม่วงหนาแน่น ช่อดอกมี 1-2 ดอก ก้านช่อยาวได้ถึง 20 ซม. ใบประดับรูปไข่
ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ความสูงถึงประมาณ ยาว 1-1.4 ซม. ดอกสีขาว มีจุดสีม่วงเป็นทาง ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยงบน
500 เมตร มีความผันแปรสูง บางครั้งแยกเป็นหลายชนิดย่อย รูปไข่กว้าง ยาว 2.7-4.2 ซม. กลีบคู่ข้างรูปไข่ ยาว 2-3 ซม. กลีบดอกรูปรี ยาว
3.3-4.3 ซม. ปลายกลีบมนกลม เว้าตื้น ถุงกลีบปากยาว 2.2-3.6 ซม. แผ่นเกสร
เอกสารอ้างอิง เพศผู้ที่เป็นหมันมีสีเหลืองแซม ด้านกว้างยาวกว่าด้านยาว ยาว 6-9 มม. ปลาย
Hoogland, R.D. (1972). Dilleniaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 105-108. จักตื้น ๆ 1-3 แฉก รังไข่รวมก้านยาวประมาณ 4.5 ซม.
Zhang, Z. and K. Kubitzki. (2007). Dilleniaceae. In Flora of China Vol. 12: 331.
พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ของไทยที่ตรัง และสตูล ขึ้นบนเขาหินปูนใน
ป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 200 เมตร อนึ่ง รองเท้านารีขาวพังงา P. thaianum
Iamwir. ต่างกันที่ส่วนต่าง ๆ ของดอกขนาดเล็กกว่า ซึ่งอาจเป็นเพียงลักษณะที่ผันแปร
รองเท้านารีคางกบ
Paphiopedilum callosum (Rchb. f.) Stein
ชื่อพ้อง Cypripedium callosum Rchb. f.
กล้วยไม้ขึ้นตามพื้นดิน ใบรูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 10-20 ซม.
ช่อดอกมี 1-2 ดอก ก้านช่อยาว 12-25 ซม. ใบประดับรูปไข่ ปลายแหลม ยาว
รสสุคนธ์: T. loureiri กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ติดทน มี 2-3 คาร์เพล เกลี้ยง ปลายผลเป็นจะงอย (ภาพ: cultivated - RP) 1.5-2.8 ซม. ดอกสีขาว อมเขียวหรือน�้าตาล เส้นกลีบสีม่วง กลีบเลี้ยงบนรูปไข่กว้าง
367
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 367 3/1/16 6:09 PM