Page 391 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 391
ดอกรูปแตร หลอดกลีบดอกสีเหลือง ยาว 3-6 ซม. โค้งเล็กน้อย ปลายแยกเป็น ระย่อม, สกุล สารานุกรมพืชในประเทศไทย ระย่อมใบบาง
5 แฉก เกือบกลม แผ่นกลีบสีน�้าตาลแดง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 ซม. Rauvolfia L.
เกสรเพศผู้ 2 คู่ยาวไม่เท่ากัน ยาว 2-2.5 ซม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันมี 1 อัน ขนาดเล็ก
จานฐานดอกรูปวงแหวน ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 3 ซม. ผลแห้งแตก รูปแถบ วงศ์ Apocynaceae
ยาว 22-34 ซม. เมล็ดกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 6-8 มม. ไม่มีปีก ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก ใบเรียงรอบข้อ 3-5 ใบ มักมีต่อมตามซอกใบ ช่อดอก
พบที่อินเดีย เนปาล ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ลาว เวียดนามตอนบน ในไทย แบบช่อกระจุก ออกเดี่ยว ๆ หรือมีหลายช่อเวียนรอบข้อ กลีบดอกและกลีบเลี้ยง
พบทางภาคเหนือที่น่าน ตาก พิษณุโลก นครสวรรค์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ จ�านวนอย่างละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยงไม่มีต่อมด้านใน กลีบดอกเรียงซ้อนทับด้านซ้าย
เลย และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามพื้นที่เปิดโล่งในป่าดิบแล้ง ความ ในตาดอก ดอกบานรูปดอกเข็ม โคนกลีบช่วงใต้จุดติดอับเรณูส่วนมากมีขนสั้นนุ่ม
สูงถึงประมาณ 1300 เมตร เกสรเพศผู้ 5 อัน อยู่ภายในหลอดกลีบดอก อับเรณูไม่แนบติดยอดเกสรเพศเมีย
ก้านชูอับเรณูสั้น จานฐานดอกเป็นวง มี 2 คาร์เพล เชื่อมติดกันที่โคนหรือแยกกัน
สกุล Pauldopia Steenis มีเพียงชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาว แต่ละคาร์เพลมีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ยอดเกสรบานออก
ฝรั่งเศส Paul Louis Amans Dop (1876-1954) ผลผนังชั้นในแข็ง ติดกันเป็นคู่หรือแยกกัน บางครั้งเจริญผลเดียว ผนังผลชั้นกลางสด
มีเมล็ดเดียว รูปไข่ แบน ไม่มีกระจุกขน
เอกสารอ้างอิง
Santisuk, T. (1987). Bignoniaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 45-46. สกุล Rauvolfia อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Rauvolfioideae พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา
Zhang, Z.Y. and T. Santisuk. (1998). Bignoniaceae. In Flora of China Vol. 18: 216.
และเอเชีย มีประมาณ 60 ชนิด ในไทยมี 5 ชนิด ทุกชนิดมีสาร rauwolfia alkaloid
โดยเฉพาะสาร reserpine มีสรรพคุณแก้โรคความดันโลหิตสูง และระงับประสาท
ชื่อสกุลตั้งตามนายแพทย์และนักสำารวจชาวเยอรมัน Leonhard Rauwolf
(1535-1596)
ระย่อม
Rauvolfia serpentina (L.) Benth. ex Kurz
ชื่อพ้อง Ophioxylon serpentinum L.
ไม้พุ่มเตี้ย ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 4-25 ซม. เส้นแขนงใบ
ระฆังทอง: ใบประกอบ 2 ชั้น ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ดอกรูปแตร โค้งเล็กน้อย สีเหลือง แผ่นกลีบสี ข้างละ 7-16 เส้น ก้านใบยาว 0.5-2 ซม. ช่อดอกออกเดี่ยว ๆ ตามปลายกิ่ง ยาว
น�้าตาลแดง ผลรูปแถบ (ภาพ: ทุ่งใหญ่นเรศวร ตาก - PK) 4-11 ซม. ก้านช่อยาว 3-8 ซม. ดอกหนาแน่น ก้านดอกยาว 2-6.5 มม. กลีบเลี้ยง
ระไมป่า รูปไข่หรือรูปใบหอก ยาว 2-4 มม. ดอกสีขาว แดง ชมพู หรือสีม่วง หลอดกลีบดอก
ยาว 1-2 ซม. มีขนรอบปากหลอด กลีบดอกรูปรี ยาว 2-5.5 มม. เกสรเพศผู้ติด
Baccaurea bracteata Müll. Arg. เหนือโคนหลอดกลีบประมาณ 1 ซม. คาร์เพลเชื่อมติดกันที่โคน เกสรเพศเมีย
วงศ์ Phyllanthaceae ยาว 7-9.5 มม. รวมยอดเกสร ผลออกเป็นคู่ รูปไข่ ยาว 0.5-1 ซม.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. กิ่งมีขนสั้นนุ่ม ใบรูปไข่ รูปไข่กลับ แกมรูปขอบขนาน พบที่ศรีลังกา อินเดีย เนปาล ภูฏาน พม่า จีน ภูมิภาคอินโดจีน และมาเลเซีย
หรือรูปใบหอก ยาวได้ถึง 20 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีต่อมสีด�ากระจาย เส้นแขนงใบ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร
ข้างละ 3-8 เส้น ก้านใบยาวได้ถึง 8.5 ซม. ใบประดับยาว 2-6 มม. ใบประดับย่อย
ขนาดเล็ก ไม่มีกลีบดอก ช่อดอกเพศผู้มี 1-3 ช่อ ยาวได้ถึง 15 ซม. ก้านดอกยาว ระย่อมตีนเป็ด
ประมาณ 2 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 1-2 มม. ช่อดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ ยาวได้ถึง Rauvolfia sumatrana Jack
7 ซม. ก้านดอกยาวกว่าในดอกเพศผู้เล็กน้อย กลีบเลี้ยงเรียวแคบ ยาวได้ถึง 1 ซม.
ติดค่อนข้างทน ก้านเกสรเพศเมียสั้นมาก ยอดเกสรเพศเมียยาว 1-2.5 มม. ผลกลม ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. กิ่งมีช่องอากาศหนาแน่น ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก
เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. ด้านนอกมีขนสั้นละเอียด เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีเหลือง ยาว 4.5-20 ซม. แผ่นใบหนา เส้นแขนงใบข้างละ 24-30 เส้น เรียงจรดกันเป็น
หรืออมส้ม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะไฟ, สกุล) เส้นขอบใน ก้านใบยาว 0.7-2.8 ซม. ช่อดอกหลายช่อเรียงเวียนรอบข้อตามปลายกิ่ง
ยาว 8-20 ซม. ก้านช่อยาว 11-15 ซม. ก้านดอกยาว 6-8 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่
พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และบอร์เนียว ในไทยพบทางภาคใต้ ขึ้นตาม ยาวประมาณ 1.5 มม. ดอกสีขาว หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 4.5 มม. มีขนสั้นนุ่ม
ป่าดิบชื้น ป่าพรุ และป่าชายเลน ความสูงถึงประมาณ 900 เมตร ผลรสเปรี้ยว รอบปากหลอด กลีบรูปไข่ ยาว 1.5-1.8 มม. เกสรเพศผู้ติดใกล้ปากหลอดกลีบ
เอกสารอ้างอิง คาร์เพลเชื่อมติดกัน เกสรเพศเมียยาวประมาณ 2 มม. รวมยอดเกสร ผลออกเดี่ยว ๆ
Haegen, R.M.A.P. and P.C. van Welzen. (2005). Euphorbiaceae (Baccaurea). ภายในแยกเป็น 2 ช่อง เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2.5 ซม. สุกสีด�า
In Flora of Thailand Vol. 8(1): 109. พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว สุมาตรา ชวา ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทางภาคใต้
ขึ้นริมล�าธารในป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร
ระย่อมใบบาง
Rauvolfia micrantha Hook. f.
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 30 ซม. ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 3.5-13 ซม. เส้นแขนงใบ
ข้างละ 6-12 เส้น ก้านใบยาว 3-6 มม. ช่อดอกหลายช่อเวียนรอบข้อตามปลายกิ่ง
หรือซอกใบ ยาว 2.2-2.5 ซม. ก้านช่อยาวประมาณ 1.2 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ
1.2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 1 มม. ดอกสีขาว หลอดกลีบดอกยาวประมาณ
2.5 มม. กลีบรูปรีเกือบกลม ยาวประมาณ 1 มม. เกสรเพศผู้ติดใกล้ปากหลอด
คาร์เพลเชื่อมติดกันที่โคน เกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.5 มม. รวมยอดเกสร
ผลออกเป็นคู่ รูปรี ยาว 4-5 มม.
พบที่อินเดีย พม่า ในไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นใต้ร่มเงาในป่าดิบแล้ง
ระไมป่า: กิ่งมีขนสั้นนุ่ม ช่อผลออกเดี่ยว ๆ ผลกลม ด้านนอกมีขนสั้นละเอียด (ภาพ: นราธิวาส - PPu) ความสูงประมาณ 100 เมตร
371
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 371 3/1/16 6:10 PM