Page 412 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 412

ว่านน�้าทอง


                ว่านน้ำาทอง         สารานุกรมพืชในประเทศไทย          ว่านเปรี้ยว
                Ludisia discolor (Ker Gawl.) Blume                   Boesenbergia purpureorubra Mood & L. M. Prince
                วงศ์ Orchidaceae                                       ไม้ล้มลุก เหง้าสีม่วง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 8 มม. ล�าต้นสูงได้ถึง 10 ซม.
                  ชื่อพ้อง Goodyera discolor Ker Gawl.               ย่นคล้ายลูกฟูก มีจุดสีแดงอมม่วง มี 2-3 ใบ รูปขอบขนาน ยาว 18-25 ซม. โคนแหลม
                   กล้วยไม้ขึ้นบนหิน เหง้าทอดเลื้อย ล�าต้นอวบน�้า มีรากตามข้อ มี 3-7 ใบ   ถึงกลม แผ่นใบด้านล่างสีม่วงอมแดง ก้านใบยาว 3-8 ซม. ช่อดอกรูปกระสวย
                ออกเป็นกระจุกที่โคนต้น ก้านใบยาวได้ถึง 3.4 ซม. ใบรูปไข่ถึงรูปขอบขนาน ยาว   ออกตามซอกกาบ ยาว 9-13 ซม. ใบประดับบาง รูปไข่แกมรูปใบหอก ยาวประมาณ
                0.8-8.5 ซม. แผ่นใบหนา ด้านบนสีเขียวเข้ม มีสีขาวและสีน�้าตาลแดงแซม ด้านล่าง  3.5 ซม. ดอกสีขาวหรือชมพู หลอดกลีบดอกยาว 3-3.5 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง
                มีสีม่วงแซม ปลายแหลม มน หรือเป็นติ่งแหลม ช่อดอกคล้ายช่อเชิงลด ออกที่  1.5 มม. กลีบดอกรูปขอบขนาน ยาว 1.2-1.5 ซม. กลีบปากเป็นถุงลึก ปลายบานออก
                ปลายยอด ตั้งตรง สูง 9-28 ซม. แกนช่อยาว 1-9 ซม. ดอกเรียงห่าง ๆ มีขนสั้นนุ่ม   รูปไข่ กว้างประมาณ 1.6 ซม. ยาวประมาณ 2.8 ซม. ปากหลอดกลีบด้านใน
                ใบประดับคล้ายท้องเรือ ยาว 0.7-1.5 ซม. มีเส้นตามยาว 1 เส้น มี 2-18 ดอก สีขาว   สีแดงเป็นมันวาว มีจุดและริ้วสีแดงตามขวาง ปลายกลีบปากสีชมพูอมม่วงอ่อน
                ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยงบนรูปไข่ ปลายมน ยาว 0.7-1 ซม. กลีบข้างรูปรี เบี้ยว ยาว   พับงอกลับ ด้านล่างมีขนต่อมประปราย แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันรูปไข่กลับ ยาว
                0.9-1.2 ซม. กลีบดอกรูปเคียว ปลายมน ยาว 0.8-1.1 ซม. กลีบปากกลางกลีบ  ประมาณ 1 ซม. ปลายตัดหรือกลม เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1 ซม. ไม่มีสันอับเรณู
                เป็นร่อง ปลายรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง ขนาดประมาณ 3 มม. เส้าเกสรบิดเวียน   (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กระชาย, สกุล)
                ยาว 4-7 มม. อับเรณูสีเหลือง ยาว 4-4.5 มม. ก้านดอกรวมรังไข่ ยาว 0.8-1.6 ซม.
                                                                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคใต้ที่ระนอง สุราษฎร์ธานี กระบี่ พังงา ตรัง
                ฝักรูปกระสวย มีขนสั้นนุ่ม ยาว 1.2-1.6 ซม.            นราธิวาส คล้ายกับ B. longipes (King & Prain ex Rild.) Schltr. ที่ก้านใบยาวกว่า
                   พบที่พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทาง  แต่ช่อดอกสั้น และกลีบปากมีแต้มสีเหลืองด้านใน
                ภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่จันทบุรี และกระจายทั่วไปทางภาคใต้ พบขึ้นตามโขดหิน
                ริมล�าธารในป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1100 เมตร อนึ่ง ข้อมูลส่วนใหญ่ใช้ชื่อ    เอกสารอ้างอิง
                L. discolor (Ker Gawl.) A. Rich. รวมทั้งใน The Plant List และ Catalogue of   Mood, J.D., L.M. Prince, J.F. Veldkamp and S. Dey. (2013). The history and
                Life เนื่องจาก A. Richard เป็นผู้ตั้งสกุล แต่ผู้ที่ย้ายชนิดที่ถูกต้องคือ C.L. von Blume  identity of Boesenbergia longiflora (Zingiberaceae) and descriptions of five
                                                                          related taxa. Gardens’ Bulletin Singapore 65(1): 76-80.
                                                                       Mood, J.D., J.F. Veldkamp, S. Dey and L.M. Prince. (2014). A new species
                   สกุล Ludisia A. Rich. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Orchidoideae เผ่า Cranichideae มี  and new record of Boesenbergia (Zingiberaceae) for Thailand. Gardens’
                   ชนิดเดียว ชื่อสกุลอาจตั้งตามชื่อบุคคล                  Bulletin Singapore 66(2): 207-214.
                  เอกสารอ้างอิง
                   Chen, X., S.W. Gale and P.J. Cribb, (2009). Orchidaceae (Ludisia). In Flora of
                      China Vol. 25: 55
                   Pedersen, H.Æ. (2011). Orchidaceae (Ludisia). In Flora of Thailand Vol. 12(1):
                      178-180.







                                                                      ว่านเปรี้ยว: B. kingii ช่อดอกออกจากเหง้า ดอกสีขาวหรือชมพู หลอดกลีบดอกเรียวยาว กลีบปากเป็นถุง ด้านใน
                                                                     เป็นปื้นสีแดงเข้มแผ่กว้างจรดปลายกลีบ ปลายกลีบย่น (ภาพซ้ายและภาพกลาง: กาญจนบุรี, ภาพขวา: อินเดีย; - JM)









                  ว่านน�้าทอง: แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้ม มีสีขาวและสีน�้าตาลแดงแซม ใบประดับคล้ายท้องเรือ ช่อดอกมีขนสั้นนุ่ม
                ปลายกลีบปากรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง อับเรณูสีเหลือง (ภาพ: เขาหลวง นครศรีธรรมราช - NT)
                ว่านเปรี้ยว
                Boesenbergia kingii Mood & L. M. Prince              กลีบปากเป็นถุงลึก ด้านในมีจุดสีแดงกระจาย ปลายกลีบพับงอกลับ (ภาพ: ระนอง - JM)
                                                                      ว่านเปรี้ยว: B. purpureorubra แผ่นใบด้านล่างสีม่วงอมแดง ช่อดอกออกตามซอกกาบรูปกระสวย ดอกสีขาว
                วงศ์ Zingiberaceae
                   ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1.2 ม. เหง้าสีส้มอมแดง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1.5 ซม.   ว่านผักบุ้ง
                ล�าต้นสั้น กาบที่ไม่มีใบมี 3-7 กาบ ใบรูปขอบขนาน ยาว 40-45 ซม. สีเขียวหรือมีปื้น  Ipomoea nil (L.) Roth
                สีแดง โคนกลมหรือเว้าตื้น ก้านใบยาวได้ถึง 20 ซม. กาบใบยาวได้ถึง 40 ซม. ช่อดอก  วงศ์ Convolvulaceae
                ออกจากเหง้า มี 4-5 ดอก ช่อรูปทรงกระบอก ยาว 10-14 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง   ชื่อพ้อง Convolvulus nil L.
                1-1.5 ซม. ใบประดับรูปแถบ ยาว 6-11 ซม. ดอกสีขาวหรือชมพู หลอดกลีบดอกยาว   ไม้เถาล้มลุก ยาว 2-5 ม. มีขนตามล�าต้น แผ่นใบ และกลีบเลี้ยงด้านนอก ใบรูปไข่
                10-15 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 4 มม. สีขาว กลีบดอกรูปขอบขนาน ยาว 3.5-4 ซม.   หรือจักตื้น ๆ 3 พู ยาว 4-14 ซม. ปลายแหลม โคนเว้าตื้น ก้านใบยาว 2-15 ซม.
                กลีบปากเป็นถุง รูปไข่กว้าง ยาว 5-6 ซม. ด้านในมีปื้นสีแดงจรดปลายกลีบ   ก้านช่อดอกยาว 1-7 ซม. ใบประดับรูปแถบหรือรูปเส้นด้าย ยาว 5-8 มม. ก้านดอก
                ปลายกลีบย่น ด้านล่างมีขนต่อมประปราย แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันรูปไข่กลับ   ยาว 2-7 มม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 1-2.5 ซม. ปลายเรียวแหลม ติดทน
                ยาวประมาณ 2.5 ซม. มีขนต่อมประปราย ปลายม้วนลง เกสรเพศผู้ยาว 12 มม.   ดอกรูปแตร ยาว 5-7.5 ซม. สีม่วงอ่อนหรือเข้ม เปลี่ยนเป็นสีชมพู หลอดกลีบดอก
                ไม่มีถ้วยรองอับเรณู (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กระชาย, สกุล)
                                                                     สีขาว เกสรเพศผู้ยาวไม่เท่ากัน ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบ อับเรณูไม่บิดเวียน รังไข่เกลี้ยง
                   พบที่อินเดีย บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า และลาว ในไทยพบทางภาคเหนือ และ  ผลเกลี้ยง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-1 ซม. เมล็ดรูปไข่แกมสามเหลี่ยม ยาวประมาณ
                ภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ความสูง 200-300 เมตร  5 มม. สีด�า มีขนละเอียดสีเทา (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ผักบุ้ง, สกุล)


                392






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   392                                                                 3/1/16   6:17 PM
   407   408   409   410   411   412   413   414   415   416   417