Page 417 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 417
สนเขา
เอกสารอ้างอิง สารานุกรมพืชในประเทศไทย สนทราย
Phengklai, C. (1981). Elaeocarpaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 405-409.
Tang, Y. and C. Phengklai. (2007). Elaeocarpaceae. In Flora of China Vol. 12: Baeckea frutescens L.
235-236, 239. วงศ์ Myrtaceae
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 5 เมตร เนื้อไม้สีน�้าตาลแดง มีขนสั้นนุ่ม กิ่งมักลู่ลง ใบเรียงเวียน
เป็นกระจุก รูปเข็ม หนา แบน ยาว 3-8 มม. โคนเป็นครีบ เส้นใบไม่ชัดเจน ก้านใบ
สั้นมากหรือไร้ก้าน ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงรูปล�าโพงแคบ
หลอดกลีบยาวประมาณ 3 มม. ปลายแยก 5 กลีบ ยาวประมาณ 1 มม. ปลายมน
ดอกสีขาวหรืออมชมพู มี 5 กลีบ รูปรีกว้างเกือบกลม ยาวประมาณ 2 มม.
เกสรเพศผู้ 8-10 อัน แกนอับเรณูปลายมีรยางค์เป็นต่อม รังไข่ใต้วงกลีบ มี 2-5 ช่อง
ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1-1.5 มม. ยอดเกสรกลม จานฐานดอกรูปถ้วย
สตีขน: ผลมีหนามสั้นคล้ายขนหนาแน่น ผลแห้งแตก มีเยื่อหุ้มประมาณกึ่งหนึ่ง (ภาพ: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - RP)
ยาวประมาณ 1 มม. ผลแห้งแตก คล้ายครึ่งวงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 มม.
กลีบเลี้ยงและเกสรเพศเมียติดทน เมล็ดรูปคล้ายไตเป็นเหลี่ยม ยาวประมาณ 0.5 มม.
พบที่อินเดีย พม่า เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกีนี ในไทยพบ
ตามป่าชายหาด ป่าเสม็ด และยอดเขาที่เป็นหินทรายทางภาคตะวันออกเฉียง
เหนือ หรือตามที่โล่งบนยอดเขาทางภาคใต้ ความสูงถึงประมาณ 1800 เมตร ใบ
ใช้ชงเป็นชาดื่มแก้ไข้ปวดเมื่อยร่างกาย น�้ามันที่ได้จากการกลั่นสีเหลืองอ่อน มีกลิ่น
คล้ายลาเวนเดอร์ ใช้ท�าธูปและสบู่
สกุล Baeckea L. มีประมาณ 70 ชนิด ส่วนใหญ่พบในออสเตรเลีย และภูมิภาค
มาเลเซีย ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน Abraham
Bäck (1713-1795) เพื่อนของ Carl Linnaeus
เอกสารอ้างอิง
Chen, J. and L.A. Craven. (2007). Myrtaceae. In Flora of China Vol.13: 329-330.
Parnell, J. and P. Chantaranothai. (2002). Myrtaceae. In Flora of Thailand Vol.
7(4): 782.
สตีต้น: ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ก้านดอกยาว กลีบดอกมี 4 กลีบ ยาวประมาณกึ่งหนึ่งของกลีบดอก แกนอับ
เรณูมีรยางต์ ผลแห้งแตก ผนังชั้นนอกแข็ง มีขนยาวคล้ายหนาม (ภาพ: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - SSi)
สนเขา, สกุล
Pinus L.
วงศ์ Pinaceae
ไม้ต้น ชันมีกลิ่นหอม แยกเพศร่วมต้น ตามีเกล็ดจ�านวนมาก ใบบนกิ่งยาวลด
รูปคล้ายเกล็ด เรียงเวียน ใบบนกิ่งสั้นรูปเข็ม (needle) ติดเป็นกระจุก มี 2-7 ใบ
โคนมีกาบ (fascicle sheath) ติดทน ใบมีเส้นปากใบ (stomatal lines) จ�านวน
มากเป็นริ้ว โคนเพศผู้ (male cone) คล้ายช่อเชิงลด ใบสร้างอับไมโครสปอร์
(microsporophylls) เรียงซ้อนกัน แต่ละใบมีอับไมโครสปอร์ (microsporangia) สนทราย: กิ่งห้อยลง ใบรูปคล้ายเข็มเรียงเวียนเป็นกระจุก ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ฐานดอกรูปถ้วย ดอกสีขาว
2 อัน โคนเมล็ด (seed cone) ส่วนมากออกเดี่ยว ๆ ติดทน 2-3 ปี กาบแข็งเรียงเวียน กลีบกลม กลีบเลี้ยงและเกสรเพศเมียติดทน (ภาพวิสัย: สงขลา - MP; ภาพดอก: ภูวัว บึงกาฬ - PK) )
ติดทน ส่วนที่แตกออก (apophyses) คล้ายรูปพีระมิด ปลายมีติ่งรูปกรวย (umbo)
ใบประดับคล้ายเกล็ด แต่ละเกล็ดมี 2 เมล็ด มีปีก สนสองใบ
Pinus merkusii Jungh. & de Vriese
สกุล Pinus พืชเมล็ดเปลือย อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Pinoideae มีประมาณ 110 ชนิด วงศ์ Pinaceae
พบในอเมริกากลาง แถบเทือกเขาหิมาลัย แอฟริกาตอนบน เอเชียตะวันออก
ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย เป็นไม้เนื้ออ่อน ชัน (resin) และน้ำามันสน (turpentine) ไม้ต้น สูง 30-50 ม. เปลือกหนาแตกเป็นร่องลึก สีน�้าตาลเข้มหรือด�า ใบมี 2 ใบ
ใช้ในอุตสาหกรรมหลายประเภทโดยเฉพาะการผลิตสี และน้ำามันชักเงา ในไทยมี ในแต่ละกระจุก ตัดขวางรูปสามเหลี่ยม ยาว 15-25 ซม. ติดทนประมาณ 2 ปี
2 ชนิด คือ สนสองใบ และสนสามใบ และมีหลายชนิดที่นำาเข้ามาปลูกทดลอง โคนเมล็ดออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ รูปไข่แคบ ยาว 4.5-11 ซม. ก้านโคนยาวได้ถึง
เป็นไม้สวนป่าทางภาคเหนือ อนึ่ง โคนเมล็ดมักจะแตกอ้าออกจากการที่ถูกไฟไหม้ 1 ซม. เกล็ดหนารูปคล้ายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนแคบ ๆ เมล็ดสีน�้าตาลด�า รูปไข่
ทำาให้ชันที่ปิดอยู่ละลาย (serotinous) การกระจายพันธุ์ของสนพวกจึงต้องอาศัย แบนเล็กน้อย ยาว 6-7.5 มม. ปีกยาว 1.5-2.5 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ สนเขา, สกุล)
ไฟป่า ชื่อสกุลเป็นภาษาโรมันที่เรียกพวกสนเขา พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทางภาคเหนือ
เอกสารอ้างอิง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ขึ้นกระจายห่าง ๆ ในป่าเต็งรัง และ
Fu, L., N. Li, T.S. Elias and R.R. Mill. (1999). Pinaceae. In Flora of China Vol. ป่าดิบเขา บางครั้งพบหนาแน่นเป็นผืนป่าขนาดใหญ่และขึ้นปนกับสนสามใบ
4: 11-12. ความสูง 150-1400 เมตร
Phengklai, C. (1972). Pinaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 193-194.
สนสามใบ
Pinus kesiya Royle ex Gordon
ไม้ต้น สูง 30-35 ม. เปลือกแตกเป็นร่องลึกสีน�้าตาลปนเทา ลอกเป็นแผ่นบาง ๆ
ใบมี 3 ใบในแต่ละกระจุก หน้าตัดขวางรูปสามเหลี่ยม ยาว 10-22 ซม. มีเส้นเป็นไข
3-6 เส้น โคนเมล็ดออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ รูปไข่ ยาว 5-8 ซม. โค้งเล็กน้อย ก้านโคน
ยาวประมาณ 5 มม. เกล็ดหนาแน่น รูปขอบขนาน ยาว 2.5-3 ซม. มีเส้นพาดผ่านเกล็ด
สนเขา: โคนเพศผู้คล้ายช่อเชิงลด ใบสร้างอับไมโครสปอร์เรียงซ้อนกัน โคนเมล็ดส่วนมากออกเดี่ยว ๆ กาบแข็ง เมล็ดสีน�้าตาลด�า รูปรี แบนเล็กน้อย ยาว 5-6 มม. ปีกยาวประมาณ 4 เท่าของ
เรียงเวียน ติดทน (ภาพซ้าย: เชียงใหม่ - SSi; ภาพขวา: แม่สะเรียง แม่ฮ่องสอน - PPr ) ความยาวเมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ สนเขา, สกุล)
398
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 398 3/1/16 6:19 PM