Page 419 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 419

พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน และฟิลิปปินส์ (เกาะลูซอน)   สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ส้มกุ้ง
                    ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และ
                    ภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นกระจายห่าง ๆ ในป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา หรือขึ้นหนาแน่น
                    เป็นผืนป่าขนาดใหญ่ปนกับสนสองใบ ความสูงถึงประมาณ 1800 เมตร ปลูกเป็น
                    ไม้สวนป่าในหลายประเทศทั้งในเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาใต้

                      เอกสารอ้างอิง
                       Fu, L., N. Li, T.S. Elias and R.R. Mill. (1999). Pinaceae. In Flora of China Vol. 4: 15.
                       Phengklai, C. (1972). Pinaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 193-194.

                                                                          สนุ่น: ขึ้นตามที่โล่งริมล�าธาร ช่อดอกออกหลังผลิใบอ่อน ช่อดอกแบบช่อหางกระรอก มีขนสั้นนุ่ม บนก้านช่อมีใบ
                                                                        2-3 ใบ มีขนยาว (ภาพ: ถนนแม่สอด-อุ้มผาง ตาก - PK)
                                                                        สบ
                                                                        Altingia excelsa Noronha
                                                                        วงศ์ Hamamelidaceae
                                                                           ไม้ต้น สูง 20-40 ม. ตามีเกล็ดหุ้ม หูใบยาว 2-6 มม. ใบเรียงเวียน รูปรี รูปไข่
                                                                        หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 6-12 ซม. ปลายแหลมหรือยาวคล้ายหาง โคนมนหรือกลม
                                                                        ขอบจักมนหรือจักฟันเลื่อย มีต่อมสีด�าตามขอบจัก แผ่นใบมีตุ่มทั่วไป เส้นแขนงใบ
                                                                        ข้างละ 6-8 เส้น ก้านใบยาว 1-3 ซม. ไม่มีกลีบดอกและกลีบเลี้ยง ช่อดอกเพศผู้
                                                                        แบบช่อกระจุกแน่น รูปรีกว้างเกือบกลม 6-14 ช่อ มีก้าน โคนมีใบประดับ 1-4 ใบ
                                                                        เรียงบนแกนคล้ายช่อกระจะ ยาว 5-10 ซม. ดอกย่อยจ�านวนมาก ช่อดอกเพศเมีย
                                                                        แบบช่อกระจุกแน่น มี 10-28 ดอก ก้านช่อยาว 2-3 ซม. ขยายเล็กน้อยในผล
                      สนสองใบ: ขึ้นเป็นกลุ่ม เปลือกหนาแตกเป็นร่องลึก สีน�้าตาลเข้มหรือด�า ใบมี 2 ใบในแต่ละกระจุก โคนรูปไข่แคบ   เกสรเพศผู้ 4-5 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1 มม. เป็นหมันในดอกเพศเมีย
                    (ภาพ: ภูกระดึง เลย; ภาพซ้าย - PT, ภาพขวา - TP)
                                                                        หรือไม่มี รังไข่อยู่ใต้วงเกสรเพศผู้ มี 2 ช่อง ออวุลจ�านวนมาก ก้านเกสรเพศเมีย
                                                                        2 อัน รูปลิ่มแคบ ยาว 3-4 มม. กางออก ติดทน ผลรวมเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม.
                                                                        ผลย่อยแบบแห้งแตก มี 4-18 ผล แต่ละผลย่อยมีเมล็ดเดียวที่เจริญ ขอบมีปีก
                                                                        แคบ ๆ เมล็ดที่ไม่เจริญจ�านวนมาก ไม่มีปีก
                                                                           พบที่อินเดีย ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และภูมิภาคมาเลเซีย
                                                                        ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทุกภาค ขึ้นใกล้ล�าธารในป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูง
                                                                        600-800 เมตร ชันที่เกิดจากเนื้อไม้ที่ถูกเจาะท�าลายมีกลิ่นหอม เป็นสมุนไพรและ
                                                                        ใช้ท�าน�้าหอม

                                                                           สกุล Altingia Noronha มีประมาณ 11 ชนิด พบเฉพาะในเอเชียเขตร้อน ในไทย
                      สนสามใบ: เปลือกแตกเป็นร่องลึกสีน�้าตาลปนเทา ลอกเป็นแผ่นบาง ๆ ใบมี 3 ใบในแต่ละกระจุก โคนรูปไข่ (ภาพซ้าย:   มี 2 ชนิด อีกชนิดคือ A. siamensis Craib พบทางภาคเหนือ ใบเรียวยาวกว่า
                    ภูกระดึง เลย - SSi; ภาพขวา: แม่สะเรียง แม่ฮ่องสอน - PPr)
                                                                           โคนเรียวสอบ ชื่อสกุลตั้งตามชาวเยอรมัน ผู้ศึกษาวัฒนธรรมและประเพณี
                    สนุ่น                                                  เอเชียตะวันออก Jacobus Alting (1618-1679)
                    Salix tetrasperma Roxb.                               เอกสารอ้างอิง
                    วงศ์ Salicaceae                                        Phengklai, C. (2001). Hamamelidaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 400-401.
                                                                           Vink, W. (1957). Hamamelidaceae. In Flora Malesiana Vol. 5: 376-379.
                       ไม้ต้น สูง 10-20 ม. แยกเพศต่างต้น ตาข้างเรียวคล้ายรูปไข่ ปลายแหลม หูใบ  Zhang, Z.Y., H. Zhang and P.K. Endress. (2003). Hamamelidaceae. In Flora of
                    ขนาดเล็ก รูปไข่ เบี้ยว ขอบจัก ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปใบหอก หรือแกมรูปไข่ ยาว   China Vol. 9: 19-20.
                    6-16 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่มหรือมน ขอบจักฟันเลื่อย แผ่นใบมีนวลด้านล่าง
                    เส้นแขนงใบจ�านวนมาก ก้านใบยาว 1-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อหางกระรอก ออกหลัง
                    ผลิใบอ่อน มีขนสั้นนุ่ม ไม่มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก ก้านช่อสั้น บนก้านมีใบขนาดเล็ก
                    2-3 ใบ มีขนยาว ดอกจ�านวนมาก ใบประดับขนาดเล็ก รูปรี ติดทน โคนมีต่อม
                    เชื่อมติดกันรูปจาน ต่อมแนบติดก้านดอกในดอกเพศเมีย ช่อดอกเพศผู้ยาว 5-10 ซม.
                    ช่อดอกเพศเมียยาว 8-12 ซม. เกสรเพศผู้ส่วนมากมี 8 อัน ยาวประมาณ 5 มม.
                    มีขนที่โคน รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรจัก 2 พู ผลแห้งแตก
                    เป็น 2 ซีก เกลี้ยง ยาวประมาณ 3 มม. เมล็ดขนาดเล็ก มีขนยาวละเอียดหนาแน่น
                       พบที่อินเดีย ปากีสถาน จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย และฟิลิปปินส์
                    ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่งริมล�าธาร ความสูงถึงประมาณ 1900 เมตร เปลือก  สบ: ตามีเกล็ดหุ้ม ขอบใบจักฟันเลื่อย ช่อดอกเพศผู้แบบช่อกระจุกแน่น มีก้านช่อ เรียงบนแกนคล้ายช่อกระจะ ผลรวม
                    มีสรรพคุณแก้ไข้ สารสกัดจากใบใช้บ�ารุงผิว            ผลย่อยแบบแห้งแตก เกสรเพศเมียติดทน (ภาพ: เขาใหญ่ นครนายก; ภาพซ้าย - MP, ภาพขวา - SSi)

                       สกุล Salix L. มีประมาณ 520 ชนิด ส่วนมากพบในเขตหนาวและเขตอบอุ่นทาง  ส้มกุ้ง, สกุล
                       ซีกโลกเหนือ โดยเฉพาะที่จีนมีกว่า 275 ชนิด ในไทยมีพืชพื้นเมืองชนิดเดียว   Begonia L.
                       และพบเป็นไม้ประดับ 2-3 ชนิด ซึ่งอาจเป็นพันธุ์ผสม ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน   วงศ์ Begoniaceae
                       “salicis” หมายถึงต้นหลิว (willow tree)
                                                                           ไม้ล้มลุกอวบน�้า พบน้อยที่เป็นไม้พุ่ม ส่วนมากแยกเพศร่วมต้น มีเหง้าหรือ
                      เอกสารอ้างอิง                                     หัวใต้ดิน มีหูใบ ใบส่วนมากเป็นใบเดี่ยวเรียงเวียน เบี้ยว ขอบจักหรือเรียบ ช่อดอก
                       Fang, C.F., S.D. Zhao and A.K. Skvortsov. (1999). Salicaceae. In Flora of China   ส่วนมากแบบช่อกระจุกแยกสอง มีใบประดับ ดอกเพศผู้กลีบรวมมี 2 หรือ 4 กลีบ
                          Vol. 4: 171.
                       Harwood, B. (2015). Salicaceae. In Flora of Thailand Vol. 13(1): 51-53.  เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก คู่นอกใหญ่กว่าเล็กน้อย เกสรเพศผู้จ�านวนมาก แยกหรือ

                                                                                                                    399






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   399                                                                 3/1/16   6:23 PM
   414   415   416   417   418   419   420   421   422   423   424