Page 424 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 424

สยาขน
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                ช่อดอกยาวได้ถึง 30 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ตาดอกรูปไข่กลับ ยาว 3-5 มม. มีขนหนาแน่น
                ก้านดอกเทียมยาว 1-2 มม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3-4 มม. มีสันตื้น ๆ 6 สัน ด้านใน
                มีขนละเอียดช่วงปลายกลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 2-3 มม. ดอกสีชมพูอมม่วง กลีบรูปรี
                หรือคล้ายรูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ยาว 5-7 มม. รวมก้านกลีบ เกสรเพศผู้ 6-7 อัน
                ด้านนอกยาวกว่าอันด้านใน รังไข่เกลี้ยง ผลแห้งแตก มี 3-4 ซีก รูปรีเกือบกลม
                ยาว 1.5-1.8 ซม. เกลี้ยง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะแบก, สกุล)
                   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง ภาคตะวันออก และ  สยาขน: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ตาดอกรูปกระสวย ดอกสีเหลืองอ่อน โคนสีแดง กลีบรูปแถบ โคนปีกโอบหุ้มผล
                ภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ความสูงถึงประมาณ 200 เมตร  เกินกึ่งหนึ่ง (ภาพ: ยะลา - MP)
                  เอกสารอ้างอิง
                   de Wilde, W.J.J.O., B.E.E. Duyfjes and P. Phonsena. (2014). Lythraceae. In
                      Flora of Thailand Vol. 11(4): 576.









                                                                      สยาขาว: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ดอกเรียงห่าง ๆ ตาดอกรูปรี ดอกสีขาว กลีบรูปขอบขนาน โคนปีกโอบหุ้มผล
                                                                     เกือบตลอดความยาว (ภาพ: ยะลา - MP)
                                                                     สยามมนัส
                  สมอร่อง: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง หลอดกลีบเลี้ยงเป็นสันตื้น ๆ ผลเกลี้ยง (ภาพซ้าย: กาญจนบุรี   Siamanthus siliquosus K. Larsen & Mood
                - SSi; ภาพขวา: ลพบุรี - RP)
                                                                     วงศ์ Zingiberaceae
                สยาขน                                                  ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1.5 ม. แตกกอแน่น เหง้ามีเส้นใยหนาแน่น กาบที่ไม่มีใบมี
                Shorea ochrophloia Strugnell ex Symington            3 กาบ ลิ้นกาบยาว 1.2-1.5 ซม. บางใส ใบรูปใบหอก ปลายแหลมยาว โคนเรียวสอบ
                วงศ์ Dipterocarpaceae                                ขอบมีขนยาว แผ่นใบด้านล่างมีขนคล้ายไหม ก้านใบยาวประมาณ 5 มม. ช่อดอก
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. พูพอนขนาดใหญ่ ชันสีน�้าตาล มีขนสั้นนุ่มหนาแน่นตาม  ออกที่ยอด มีได้ถึง 20 ดอก แกนช่อเกลี้ยง ยาว 20-25 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ บน
                                                                     แกนช่อ ไม่มีใบประดับ ใบประดับย่อยขนาดเล็ก ติดประมาณกึ่งกลางก้านดอก
                กิ่งอ่อน หูใบ เส้นแขนงใบด้านล่าง ก้านใบ ช่อดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก   ก้านดอกยาวได้ถึง 3 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3-4 ซม. ปลายแยก 2 แฉก ยาว 5-7 มม.
                และผล หูใบรูปไข่ ยาว 3-5 มม. ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 8-15 ซม. ปลายแหลม  แฉกลึกด้านเดียวเกือบกึ่งหนึ่ง ดอกสีส้มอมแดง หลอดกลีบดอกยาว 5-6 ซม. กลีบหลัง
                หรือแหลมยาว โคนมน กลม หรือเว้าตื้น เส้นแขนงใบข้างละ 15-20 เส้น ก้านใบยาว   คล้ายกลีบปากบน ยาวประมาณ 9 มม. พับงอกลับ กลีบคู่ข้างเชื่อมติดกลีบปาก
                1-1.5 ซม. ช่อดอกยาว 3-5 ซม. ตาดอกรูปกระสวย ก้านดอกยาวประมาณ 1 มม.   คล้ายเป็นกลีบปากล่าง พับงอกลับ ช่วงโคนยาว 2-3 ซม. ปลายแยกเป็น 3 กลีบ
                กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 1.5-2 มม. ดอกสีเหลืองอ่อน โคนสีแดง กลีบรูปแถบ ปลายมน   รูปเส้นด้าย กลีบกลางยาวได้ถึง 4 ซม. กลีบข้างยาวประมาณ 7 มม. ไม่มีแผ่น
                ยาว 1-1.5 ซม. เกสรเพศผู้จ�านวนมาก เรียง 3 วง อับเรณูรูปขอบขนาน รยางค์มีขน   เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันด้านข้าง ก้านชูอับเรณูยาวได้ถึง 2 ซม. อับเรณูยาว 2.5-3 ซม.
                2-4 เส้น ฐานก้านเกสรเพศเมียรูปไข่ มีขนยาวหนาแน่น ผลรูปไข่ ยาว 0.8-1.1 ซม.   ผลแห้งแตก รูปแถบ ห้อยลง ยาว 5-11 ซม. เมล็ดเป็นเหลี่ยม ขนาดประมาณ 2 มม.
                ปีกยาว 3 ปีก ยาว 3.5-7 ซม. ปีกสั้น 2 ปีก ยาว 1-4 ซม. โคนปีกโอบหุ้มผล
                เกินกึ่งหนึ่ง ก้านผลยาว 1.5-2 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ พะยอม, สกุล)  พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคใต้ตอนล่างที่นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น
                   พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่ยะลา นราธิวาส   ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร
                ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 350 เมตร            สกุล Siamanthus K. Larsen & Mood อยู่ภายใต้เผ่า Riedelieae มีเพียงชนิดเดียว
                                                                       ชื่อสกุลมาจากชื่อประเทศ Siam และ “anthos” ดอก
                สยาขาว
                Shorea assamica Dyer subsp. globifera (Ridl.) Y. K. Yang & J. K. Wu  เอกสารอ้างอิง
                                                                       Larsen, K. and J. Mood. (1998). Siamanthus, a new genus of Zingiberaceae
                  ชื่อพ้อง Shorea globifera Ridl.                         from Thailand. Nordic Jounal of Botany 18(4): 393-397.
                                                                       Larsen, K. and S.S. Larsen. (2006). Gingers of Thailand. Queen Sirikit Botanic
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. พูพอนขนาดใหญ่ ชันสีขาว มีขนสั้นนุ่มหนาแน่นตามกิ่งอ่อน   Garden. Chiang Mai.
                หูใบ เส้นแขนงใบด้านล่าง ก้านใบ ช่อดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก และผล
                หูใบรูปไข่ ยาวได้ถึง 1.5 ซม. ใบรูปรี ยาว 4-9 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลมสั้น ๆ โคนมน
                หรือกลม เส้นแขนงใบข้างละ 12-15 เส้น ก้านใบยาว 5-7 มม. ช่อดอกยาว 5-8 ซม.
                ตาดอกรูปรี ก้านดอกสั้นมาก กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานหรือรูปไข่ ยาว 3-4 มม. ดอกสีขาว
                โคนสีชมพู กลีบรูปขอบขนาน ปลายมน ยาวประมาณ 1 ซม. เกสรเพศผู้ 15 อัน
                เรียง 2 วง อับเรณูรูปขอบขนาน ฐานก้านเกสรเพศเมียไม่ชัดเจน ผลรูปไข่กว้าง ยาว
                1-1.2 ซม. ปีกยาว 3 ปีก ยาว 6-9 ซม. ปีกสั้น 2 ปีก ยาว 3-5.5 ซม. โคนปีกโอบหุ้มผล
                เกือบตลอดความยาว ก้านผลยาวประมาณ 1 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ พะยอม, สกุล)
                   พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และภาคใต้ของไทยที่สุราษฎร์ธานี สงขลา สตูล
                ยะลา นราธิวาส ขึ้นตามสันเขาในป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร แยก
                เป็นหลายชนิดย่อย ส่วน subsp. assamica พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ และพม่า

                  เอกสารอ้างอิง
                   Ashton, P.S. (1982). Dipterocarpaceae. In Flora Malesiana Vol. 9: 447, 491.
                   Pooma, R. and M. Newman. (2001). Checklist of Dipterocarpaceae in Thailand.
                      Thai Forest Bulletin (Botany) 29: 158.          สยามมนัส: ช่อดอกออกที่ยอด แกนช่อเกลี้ยง ดอกออกเดี่ยว ๆ บนแกนช่อ กลีบดอกพับงอกลับ กลีบปากปลายแยก
                                                                     เป็น 3 กลีบ รูปเส้นด้าย ไม่มีแผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันด้านข้าง ผลแห้งแตก รูปแถบ ห้อยลง (ภาพ: นราธิวาส - JM)
                404






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   404                                                                 3/1/16   6:24 PM
   419   420   421   422   423   424   425   426   427   428   429