Page 422 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 422

ส้มสา  ส้มสา        สารานุกรมพืชในประเทศไทย
                Myrica esculenta Buch.-Ham. ex D. Don
                วงศ์ Myricaceae
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. แยกเพศต่างต้น มีขนสั้นนุ่มและต่อมสีเหลืองตาม
                กิ่งอ่อน ก้านใบ แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก และใบประดับ ใบเรียงเวียน รูปขอบขนาน
                รูปใบหอก หรือแกมรูปไข่ ยาว 6-17 ซม. โคนสอบหรือรูปหัวใจแคบ ก้านใบสั้น
                หรือยาวได้ถึง 2 ซม. ช่อดอกแบบหางกระรอกออกตามซอกใบ ดอกขนาดเล็ก
                ไม่มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก ช่อดอกเพศผู้ยาว 3-9 ซม. แยกแขนงสั้น ๆ ยาวประมาณ
                1 ซม. ก้านช่อสั้น เกสรเพศผู้ 3-7 อัน ช่อดอกเพศเมียยาว 4-8 ซม. ดอกออกหนาแน่น   ส้มเสี้ยวเถา: ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ฐานดอกเรียวแคบ กลีบเลี้ยงพับงอกลับ เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านชูอับเรณูสีแดง
                ติดบนกลีบประดับขนาดเล็ก 2 อัน มี 2 คาร์เพล เชื่อมติดกันคล้ายมีช่องเดียว   เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 7 อัน 2 อันติดระหว่างเกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ 5 อันเชื่อมติดกันที่โคน (ภาพ: นครพนม - PK)
                มีขนละเอียด ยอดเกสร 2 อัน สีแดง ผลสดผนังชั้นในแข็ง รูปรีกว้างเกือบกลม   สมอ, สกุล
                เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. ผิวมีปุ่มกระจาย สุกสีแดง มีเมล็ดเดียว   Terminalia L.
                   พบในจีนตอนใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่า
                ที่โล่งในป่าดิบเขา และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 2400 เมตร ผลช่วยย่อย  วงศ์ Combretaceae
                และเป็นยาระบาย สารสกัดจากเปลือกแก้ไข้ แก้เจ็บคอ หืดหอบ   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ส่วนมากผลัดใบ ใบเรียงเวียน เกือบตรงข้าม หรือตรงข้าม
                                                                     มักเรียงหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง ส่วนมากมีต่อม 2 หรือหลายต่อมบนแผ่นใบช่วงโคน
                   สกุล Myrica L. มีประมาณ 35 ชนิด พบในเอเชีย อเมริกา ยุโรป แอฟริกา ในไทย  หรือก้านใบ ส่วนมากมีตุ่มใบ ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ช่อกระจะ หรือช่อแยกแขนง
                   มีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “myrike” หอม หมายถึงพืชที่มีกลิ่นหอม  โคนช่อเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ปลายช่อเป็นดอกเพศผู้ ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว
                                                                     ดอกสีเหลืองอมเขียว กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 4 หรือ 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม
                  เอกสารอ้างอิง
                   Larsen, K. (2000). Myricaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(2): 268-270.  ไม่ติดทน ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้จ�านวนสองเท่าของกลีบเลี้ยง อับเรณูติดไหวได้
                   Lu, A. and A.J. Bornstein. (1999). Myricaceae. In Flora of China Vol. 4: 275.  จานฐานดอกมีขน รังไข่ใต้วงกลีบ มีช่องเดียว ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ออวุล
                                                                     ส่วนมากมี 2 เม็ด ผลผนังชั้นในแข็ง หรือแบบเปลือกแข็งมี 2-5 ปีก

                                                                       สกุล Terminalia มีประมาณ 150 ชนิด พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา เอเชีย
                                                                       ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 17 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                                                                       “terminus” ปลาย หมายถึงใบส่วนมากเรียงเวียนหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง

                                                                     สมอดีงู
                                                                     Terminalia citrina (Gaertn.) Roxb. ex Fleming
                                                                      ชื่อพ้อง Myrobalanus citrina Gaertn.
                                                                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. โคนต้นพูพอนขนาดเล็ก เปลือกเรียบหรือเป็นสะเก็ดบาง ๆ
                                                                     มีขนสั้นนุ่มสีแดงตามกิ่งอ่อน ใบประดับ และช่อดอก ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน
                                                                     ยาว 3-14 ซม. ปลายแหลมยาว โคนกลมหรือรูปลิ่มกว้าง ก้านใบยาว 0.5-2.5 ซม.
                                                                     มีต่อม 1 คู่ ที่ปลายก้านใบ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ช่อดอกย่อยแบบช่อเชิงลด
                  ส้มสา: ใบเรียงเวียน ช่อดอกแบบหางกระรอกออกตามซอกใบ ผลสด รูปรีกว้าง ผิวมีปุ่มกระจาย สุกสีแดง    ยาวได้ถึง 10 ซม. ดอกไร้ก้าน หลอดกลีบเลี้ยงสั้น ปลายแยก 5 แฉก รูปสามเหลี่ยม
                (ภาพซ้ายบนและภาพขวา: โตนงาช้าง สงขลา - PK; ภาพซ้ายล่าง: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - RP)  กว้าง ยาวประมาณ 1.5 มม. ด้านในมีขนหนาแน่น ก้านชูอับเรณูยาว 2-3 มม.
                ส้มเสี้ยวเถา                                         โคนมีขน ก้านยอดเกสรเพศเมียยาวประมาณ 4 มม. ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรี ยาว
                                                                     2-3 ซม. เกลี้ยง เรียบหรือมีสันตื้น ๆ 5 สัน สุกสีม่วงแกมเขียว เมล็ดรูปรีเป็นเหลี่ยม
                Phanera lakhonensis (Gagnep.) A. Schmitz             ยาวประมาณ 1.5 ซม.
                วงศ์ Fabaceae                                          พบที่อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และนิวกินี
                  ชื่อพ้อง Bauhinia lakhonensis Gagnep.              ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามริม
                   ไม้เถา มีขนสีน�้าตาลแดงตามกิ่งอ่อน เส้นแขนงใบด้านล่าง ก้านใบ ตาดอก   ล�าธารในป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง หรือที่ราบชายฝั่งทะเล ความสูงถึงประมาณ
                และฐานดอก หูใบรูปเคียวขนาดเล็ก ใบรูปรีกว้าง ยาว 4-5 ซม. ปลายแฉกลึกประมาณ  400 เมตร ผลและเปลือกให้สีย้อมสีน�้าเงินเข้ม มีรสฝาด สมานล�าไส้ เป็นยาระบาย
                กึ่งหนึ่ง ปลายแฉกกลม โคนเว้าลึก เส้นใบ 9 เส้น ก้านใบยาว 1.5-2 ซม. ช่อดอกแบบ
                ช่อเชิงหลั่น ยาวได้ถึง 5 ซม. ใบประดับยาวประมาณ 6 มม. ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม.   เอกสารอ้างอิง
                ใบประดับย่อยติดประมาณกึ่งกลางก้านดอก ตาดอกรูปไข่ ยาวประมาณ 4 มม.   Exell, A.W. (1954). Combretaceae. In Flora Malasiana Vol. 4: 555-556.
                                                                       Nanakorn, W. (1985). The genus Terminalia (Combretaceae) in Thailand. Thai
                ฐานดอกเรียวแคบ ยาว 2-3 ซม. กลีบเลี้ยงแยก 5 ส่วน พับงอกลับ ดอกสีขาว   Forest Bulletin (Botany) 15: 59-107.
                กลีบรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1 ซม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านชูอับเรณู
                สีแดง ยาวประมาณ 1 ซม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 7 อัน 2 อันติดระหว่างเกสรเพศผู้
                ที่สมบูรณ์ 5 อันเชื่อมติดกันที่โคน รังไข่เกลี้ยง ยอดเกสรเพศเมียรูปจาน ฝักรูปใบหอก
                ยาว 10-12 ซม. มี 8-16 เมล็ด รูปรี แบน ยาวประมาณ 9 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่
                แสลงพัน, สกุล)
                    พบที่ลาว เวียดนามตอนบน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของไทย
                ที่นครพนม สกลนคร บึงกาฬ ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ
                200 เมตร
                  เอกสารอ้างอิง
                   Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.   สมอดีงู: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ช่อดอกย่อยแบบช่อเชิงลด ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรี เรียบหรือมีสันตื้น ๆ 5 สัน
                      (Bauhinia lakhonensis). In Flora of Thailand Vol. 4(1): 40.  (ภาพ: แว้ง นราธิวาส; ภาพดอก - PPu, ภาพผล - CN)

                402






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   402                                                                 3/1/16   6:24 PM
   417   418   419   420   421   422   423   424   425   426   427