Page 421 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 421

ส้มลม
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                       สกุล Senegalia อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Mimosoideae เผ่า Acacieae แยกออกมาจาก  พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย ขึ้นตามป่าดิบเขา
                       สกุล Acacia ตามลักษณะใบประกอบ 2 ชั้น ลำาต้นมีหนาม ฝักแบน ส่วนมากตรง    ผสมสน ความสูง 1000-1300 เมตร
                       มีประมาณ 200 ชนิด พบทั่วไปในเขตร้อน ในไทยมี 13 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามชื่อ
                       ประเทศเซเนกัล                                       สกุล Lyonia Nutt. มีประมาณ 35 ชนิด พบในอเมริกาเหนือ และเอเชีย ในไทย
                                                                           มี 2 ชนิด อีกชนิด คือ เม้าแดง L. ovalifolia (Wall.) Drude ใบใหญ่กว่า กลีบเลี้ยง
                    ส้มป่อย                                                สั้นกว่าผล พบทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ความสูงถึงประมาณ
                    Senegalia rugata (Lam.) Britton & Rose                 2500 เมตร ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวสกอตแลนด์ John Lyon (1765-1814)
                      ชื่อพ้อง Mimosa rugata Lam., Acacia concinna (Willd.) DC., A. rugata   เอกสารอ้างอิง
                        Buch.-Ham. ex Benth.                               Fang, R. and P.F. Stevens. (2005). Ericaceae (Lyonia). In Flora of China Vol.
                                                                              14: 461.
                       ไม้เถาเนื้อแข็ง กิ่งมีขนก�ามะหยี่หรือขนสั้นนุ่ม หูใบรูปหัวใจ ยาว 3-8 มม.   Watthana, S. (2015). Ericaceae. In Flora of Thailand Vol. 13(1): 123-125.
                    ร่วงเร็ว ใบประกอบแกนกลางยาว 6-16 ซม. ก้านยาว 1-5 ซม. มีต่อมด้านบน
                    ประมาณจุดกึ่งกลาง ใบประกอบย่อยมี 4-10 คู่ ยาว 2-9 ซม. มีต่อมระหว่าง
                    ใบประกอบย่อยคู่ที่ 1-3 ก้านใบสั้น ใบย่อยมี 10-35 คู่ รูปใบหอก เบี้ยว ยาว
                    0.4-1.3 ซม. ปลายแหลมหรือกลม มีติ่งแหลม โคนตัด แผ่นใบด้านล่างมักมีขน
                    คล้ายไหม ขอบมีขนอุย ไร้ก้าน ช่อดอกสีขาวออกตามซอกใบ บางครั้งแยกแขนง
                    ใบประดับย่อยยาว 0.5-1 มม. กลีบเลี้ยงยาว 2-3 มม. เกลี้ยงหรือมีขนละเอียด
                    กลีบดอกยาว 3-4 มม. รังไข่เกลี้ยงหรือมีขนคล้ายไหม มีก้านสั้น ๆ ฝักรูปแถบ
                    ยาว 10-15 ซม. เปลือกหนา แห้งย่น เมล็ดรูปรีกว้าง ยาว 0.6-1 ซม.
                       พบที่อินเดีย ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย นิวกินี และฟิลิปปินส์ ในไทยพบ
                    ทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ หรือป่าโปร่ง ความสูงถึงประมาณ 1400 เมตร
                    ฝักแห้งแช่น�้าให้กลิ่นหอมใช้ในพิธีมงคล เปลือกบดใช้เบื่อปลา

                       เอกสารอ้างอิง
                       Maslin, B.R. (2015). Synoptic overview of Acacia sensu lato (Leguminosae:
                          Mimosoideae) in East and Southeast Asia. Gardens’ Bulletin Singapore   ส้มแปะ: ขอบใบเรียบ ช่อดอกแบบช่อกระจะ กลีบเลี้ยงแฉกลึก ยาวเท่า ๆ ผล ดอกรูปหลอด สีขาว ปลายจักรูป
                          67(1): 231-250.                               สามเหลี่ยมขนาดเล็ก ผลแห้งแตก (ภาพ: ภูหลวง เลย - SSi)
                       Maslin, B.R., D.S. Seigler and J. Ebinger. (2013). New combinations in Senegalia
                          and Vachellia (Leguminosae: Mimosoideae) for Southeast Asia and China.   ส้มลม
                          Blumea 58(1): 39-44.
                       Nielsen, I.C. (1985). Leguminosae-Mimosoideae (Acacia concinna). In Flora of   Aganonerion polymorphum Pierre ex Spire
                          Thailand Vol. 4(2): 169-170.                  วงศ์ Apocynaceae
                                                                           ไม้เถา น�้ายางสีขาว กิ่งแก่มีช่องอากาศ ใบเรียงตรงข้าม รูปรี รูปขอบขนาน หรือ
                                                                        แกมรูปไข่ ยาวได้ถึง 11 ซม. โคนรูปลิ่มหรือเว้าตื้น แผ่นใบมักมีปื้นหรือจุดสีแดง
                                                                        กระจาย มีขนสั้นนุ่มตามซอกเส้นแขนงใบด้านล่าง ก้านใบยาว 0.5-3.2 ซม. ช่อดอก
                                                                        แบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ คล้ายช่อเชิงลด ยาวได้ถึง 10 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก
                                                                        ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่ ยาวได้ถึง 3.5 มม. ขอบมีขนครุย โคนกลีบด้านใน
                                                                        มีต่อม ดอกสีชมพูอมแดงหรือขาว มี 5 กลีบ เรียงซ้อนทับกันด้านขวาในตาดอก
                                                                        ดอกบานรูปดอกเข็ม หลอดกลีบยาว 3.5-5 มม. กลีบยาวประมาณ 2.5 มม. ปากหลอด
                                                                        มีขนสั้นนุ่ม เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดใกล้โคนหลอดกลีบดอก ยาว 3-4 มม. ช่วงที่เป็น
                                                                        หมันแนบติดก้านเกสรเพศเมีย จานฐานดอกเป็นวง มี 2 คาร์เพล แยกกัน มีขนสั้นนุ่ม
                                                                        แนบติดก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 2 มม. รวมยอดเกสร ผลแตกแนวเดียว
                                                                        ออกเป็นคู่ ยาวได้ถึง 20 ซม. เมล็ดยาวประมาณ 1 ซม. ขนกระจุกยาว 1.5-3 มม.
                                                                           พบในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                                                        และภาคตะวันออก ขึ้นกระจายในป่าเต็งรัง และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ
                                                                        700 เมตร ใบและผลอ่อนกินเป็นผักสด
                      ส้มป่อย: ใบประกอบ 2 ชั้น ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกตามซอกใบ บางครั้งแยกแขนง เกสรเพศผู้จ�านวนมาก
                    แยกกัน ฝักรูปแถบ แบน เปลือกหนา (ภาพ: ลานสัก อุทัยธานี - PK)
                                                                           สกุล Aganonerion Pierre ex Spire มีเพียงชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                    ส้มแปะ                                                 “aganos” ชอบ และ “neros” เปียก หมายถึงพืชที่ชอบขึ้นใกล้น้ำา
                    Lyonia foliosa (H. R. Fletcher) Sleumer               เอกสารอ้างอิง
                    วงศ์ Ericaceae                                         Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 141.
                      ชื่อพ้อง Xolisma foliosa H. R. Fletcher, Lyonia ovalifolia (Wall.) Drude var.
                        foliosa Judd
                       ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 2.5-5 ซม. ปลายแหลม
                    แผ่นใบมีขนสั้นประปราย ขอบเรียบ เส้นแขนงใบข้างละ 4-7 เส้น ก้านใบยาว
                    2-5 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาว 3-11 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ใบประดับคล้ายใบ ยาว
                    1-3 ซม. ก้านดอกยาว 3.5-7 มม. กลีบเลี้ยงแฉกลึก มี 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ
                    ยาว 2.5-4 มม. ขยายในผลเล็กน้อย ยาวเท่า ๆ ผล มีขนประปราย ดอกรูปหลอด
                    สีขาว ยาว 0.7-1 ซม. ปลายจักรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก เกสรเพศผู้ 10 อัน ไม่ยื่นพ้น
                    ปากหลอดกลีบ ก้านชูอับเรณูยาว 5-6 มม. แบน ปลายก้านมีเดือยขนาดเล็ก 2 อัน
                    อับเรณูมีรูเปิดที่ปลาย รังไข่เกลี้ยง มี 4-6 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาว 6-7 มม.   ส้มลม: ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ คล้ายช่อเชิงลด ดอกบานรูปดอกเข็ม (ภาพ: ผาแต้ม
                    ผลแห้งแตก รูปไข่กว้าง ยาว 3-4 มม. เมล็ดจ�านวนมากขนาดเล็ก รูปเคียว  อุบลราชธานี; ภาพซ้าย - RP, ภาพขวา - PK)

                                                                                                                    401






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   401                                                                 3/1/16   6:24 PM
   416   417   418   419   420   421   422   423   424   425   426