Page 428 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 428
สะเดาช้าง
สะเดาช้าง สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Acrocarpus fraxinifolius Wight ex Arn.
วงศ์ Fabaceae
ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 30 ม. มีขนสั้นนุ่มตามยอดอ่อน ช่อดอก และกลีบเลี้ยง
ใบประกอบ 2 ชั้น แกนใบประกอบยาว 10-60 ซม. มีขนละเอียด ก้านใบยาว
5-20 ซม. ใบประกอบย่อยมี 3-5 คู่ ใบย่อยมี 4-9 คู่ รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน
ยาว 2-15 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนรูปลิ่มกว้างถึงกลม เบี้ยว ก้านใบสั้น
ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบ 1-3 ช่อ ยาว 20-25 ซม. ก้านดอกยาว
6-8 มม. ฐานดอกรูประฆัง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ปลายมน ยาว 3-4 มม.
ดอกสีแดง มี 5 กลีบ รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 0.6-1 ซม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดระหว่าง
กลีบดอก ก้านชูอับเรณูสีเหลืองอมแดง ยาวประมาณ 2 เท่าของกลีบดอก อับเรณู
ติดไหว รังไข่มีก้านยาว ออวุลจ�านวนมาก ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรขนาดเล็ก
ฝักแบน เรียวแคบ ยาว 8-15 ซม. ปีกกว้าง 3-5 มม. เมล็ดรูปไข่ แบน ยาว 5-7 มม.
สะเดาดิน: ไม้ล้มลุกขึ้นเป็นกอบนโขดหินริมล�าธาร ช่อดอกออกตามซอกใบ ดอกรูปกงล้อ หลอดกลีบดอกสั้น
พบที่อินเดีย ศรีลังกา บังกลาเทศ ภูฏาน พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน กลีบดอกรูปแถบ (ภาพ: ภูวัว หนองคาย - PK)
สุมาตรา และชวา ในไทยพบกระจายห่าง ๆ แทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตาม
ป่าดิบแล้งตามสันเขาหรือริมล�าธาร ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร นิยมปลูก สะตือ
เป็นไม้สวนป่าในเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาเขตร้อน Crudia chrysantha (Pierre) K. Schum.
วงศ์ Fabaceae
สกุล Acrocarpus Wight ex Arn. อยู่วงศ์ย่อย Caesalpinioideae เผ่า Caesal- ชื่อพ้อง Apalatoa chrysantha Pierre
pinieae มีชนิดเดียว พบในเอเชียเขตร้อน ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “akros”
ยอดหรือตอนปลายสุด และ “karpos” ผล ตามลักษณะผลที่ออกที่ปลายกิ่ง ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. มีขนสั้นนุ่มสีเทาตามกิ่งอ่อน ช่อดอก กลีบเลี้ยงด้านใน
หรือรังไข่และผลมีก้านยาว และรังไข่ หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบประกอบปลายคี่ เรียงเวียน แกนใบประกอบยาว
4-8 ซม. ใบย่อยมี 4-6 ใบ เรียงสลับระนาบเดียว รูปไข่ ยาว 3-8 ซม. ปลายแหลมยาว
เอกสารอ้างอิง ส่วนปลายมน โคนกลมหรือมน ก้านใบยาว 2-3 มม. ช่อดอกคล้ายช่อเชิงลด ออกตาม
Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
In Flora of Thailand Vol. 4(1): 50. ซอกใบ ยาว 5-15 ซม. ก้านดอกยาว 3-4 มม. ใบประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก
ร่วงเร็ว ฐานดอกสั้น กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่ ยาว 3-4 มม.
ด้านนอกเกลี้ยง พับงอกลับ ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 8-10 อัน แยกกัน ยาวกว่า
กลีบเลี้ยงเล็กน้อย รังไข่มีขน ออวุล 3-5 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ รังไข่
ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลรูปรี แบน ยาว 5-6 ซม. แห้งแตก มีขนก�ามะหยี่หนาแน่น
มี 1-2 เมล็ด คล้ายเมล็ดถั่ว ยาวประมาณ 3 ซม.
พบในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคกลาง ภาคตะวันออก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่ปราจีนบุรี ขึ้นตามที่ราบ
สะเดาช้าง: ใบประกอบ 2 ชั้น ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบ 1-3 ช่อ (ภาพ: เขาใหญ่ นครราชสีมา - MP) ท้องนา และริมล�าธารในป่าดิบแล้ง ความสูงระดับต�่า ๆ
สะเดาดิน สกุล Crudia Schreb. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Caesalpinioideae เผ่า Detarieae
Pentasacme caudatum Wall. ex Wight มี 50-55 ชนิด พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา และเอเชีย โดยเฉพาะภูมิภาค
วงศ์ Apocynaceae มาเลเซีย เป็นสกุลที่ยังมีการศึกษาน้อยมาก ในไทยมี 6 ชนิด อีก 5 ชนิด พบ
เฉพาะทางภาคใต้ตอนล่าง มักพบตามป่าพรุน้ำาจืด มีพืชถิ่นเดียวของไทย 1 ชนิด
ไม้ล้มลุก ขึ้นเป็นกอ สูง 20-80 ซม. ใบเรียงตรงข้าม รูปแถบ ยาว 5-15 ซม. คือ C. speciosa Prain พบที่พังงาและสุราษฎร์ธานี ชื่อสกุลมาจากภาษาพื้นเมือง
เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน มีเส้นขอบใน เส้นกลางใบนูนทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 1-2 มม. ของประเทศกายอานา หรือตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวอเมริกา Johann Wilhelm
ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกสั้น ๆ ตามซอกใบหรือระหว่างใบ มี 4-8 ดอกในแต่ละช่อ Crudy (1753-1810?)
ใบประดับติดที่โคน ยาว 2-3 มม. ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มม. มีต่อมที่โคน ดอกรูปกงล้อ สีขาว มี 5 กลีบ เอกสารอ้างอิง
รูปแถบ บิดเวียนด้านขวา ยาวประมาณ 1 ซม. หลอดกลีบสั้น กะบังหนา มี 5 พู Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
ปลายมีรยางค์คล้ายเกล็ด ขอบจัก ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ๆ ปลาย In Flora of Thailand Vol. 4(1): 88-93.
อับเรณูบางเป็นจะงอยเล็ก ๆ ติดที่โคนปลายยอดเกสรเพศเมีย ยอดเกสรเพศเมีย
จักลึก 2 พู ฝักแตกแนวเดียว รูปทรงกระบอก ยาว 4-7 ซม. เมล็ดขนาดเล็กจ�านวนมาก
ปลายมีกระจุกขน ยาวประมาณ 1.5 ซม.
พบที่อินเดีย เนปาล ภูฏาน บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และ
คาบสมุทรมลายู ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทุกภาค ขึ้นตามโขดหินใกล้ล�าธาร ใน
ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร ในจีนใช้เป็นสมุนไพร
รักษาโรคตับอักเสบ โรคตาแดง แก้เจ็บคอ และโรคหลอดลมอักเสบ
สกุล Pentasacme Wall. ex Wight เดิมชื่อ Pentasachme อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย
Asclepiadoideae มี 4 ชนิด พบเฉพาะในเอเชีย ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจาก
ภาษากรีก “pente” 5 และ “akme” ยอด หมายถึงกลีบดอกมี 5 กลีบ ปลายกลีบ
บิดเวียน
เอกสารอ้างอิง
Li, B., M.G. Gilbert and W.D. Stevens. (1995). Asclepiadaceae. In Flora of สะตือ: ใบประกอบมีใบย่อย 4-6 ใบ เรียงสลับระนาบเดียว ช่อดอกคล้ายช่อเชิงลด กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ด้านในมีขนสั้นนุ่ม
China Vol. 16: 262. ไม่มีกลีบดอก รังไข่มีขนหนาแน่น ผลมีขนก�ามะหยี่หนาแน่น (ภาพดอก: อ่างทอง, ภาพผล: พระนครศรีอยุธยา; - RP)
408
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 408 3/1/16 6:25 PM