Page 431 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 431
สั่งทำา สารานุกรมพืชในประเทศไทย สังหยูดอกแดง
Diospyros buxifolia (Blume) Hiern
วงศ์ Ebenaceae
ชื่อพ้อง Leucoxylum buxifolium Blume
ไม้ต้น ส่วนมากสูงไม่เกิน 20 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ
ก้านดอก และกลีบเลี้ยงด้านนอก ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว
1.2-6 ซม. ปลายและโคนแหลม เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน ก้านใบยาวประมาณ 1 มม.
กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 4 กลีบ ช่อดอกเพศผู้สั้นมาก ดอกไร้ก้าน
สักปีก: กลีบดอกรูปขอบขนาน สีขาวนวล ผลเปลือกแข็ง หนา ผิวมีปุ่มหนาแน่น กลีบเลี้ยงที่ขยายในผลยาวเท่า ๆ กัน กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 2-3 มม. แฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง ดอกรูประฆัง ยาว 2-4 มม.
พับงอกลับ (ภาพ: แว้ง นราธิวาส - MP)
กลีบแฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง เกสรเพศผู้ 8-20 อัน รังไข่ที่ไม่เจริญมีขนยาว ดอกเพศเมีย
ก้านดอกยาว 1-2 มม. รังไข่มี 4 ช่อง เกลี้ยง ไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ผลรูปรีหรือ
รูปกรวย ยาว 1-1.5 ซม. สุกสีแดงอมน�้าตาล เปลี่ยนเป็นสีด�า ก้านผลยาวประมาณ
5 มม. กลีบเลี้ยงแฉกลึกถึงโคน เรียงซ้อนเหลื่อม ไม่พับงอกลับ เอนโดสเปิร์มเรียบ
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล)
พบที่อินเดีย ศรีลังกา พม่า กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย และนิวกินี
ในไทยพบทางภาคตะวันออกที่เขาใหญ่ จังหวัดปราจีนบุรี และพบทั่วไปทางภาคใต้
ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร เปลือกมี
สรรพคุณแก้โรคไต
เอกสารอ้างอิง
Ng, F.S.P. (2002). Ebenaceae. In Tree Flora of Sabah and Sarawak Vol. 4: 47-48.
Phengklai, C. (1981). Ebenaceae. In Flora of Thailand. Vol. 2(4): 305.
สักผา: แผ่นใบหนา เกลี้ยง เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ช่อแขนงสั้น กลีบเลี้ยงแยกจรดโคน
ปีกยาว 2 ปีก โคนเรียวแคบ ปลายแผ่กว้าง รูปใบพาย ผลเกลี้ยง (ภาพ: ถ�้าเสือ กระบี่; ภาพซ้าย - MP, ภาพขวา - RP)
สังกรณี
Barleria strigosa Willd.
วงศ์ Acanthaceae
ไม้พุ่ม สูง 1-1.5 ม. มีขนแข็งเอนตามล�าต้น แผ่นใบด้านล่าง และใบประดับ
ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 5.5-15 ซม. ปลายแหลมถึงยาวคล้ายหาง โคนเรียวสอบ
สั่งท�า: มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน ใบเรียงสลับระนาบเดียว ปลายและโคนแหลม เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน ผลสุกสีด�า
ก้านใบยาวได้ถึง 3 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกคล้ายช่อเชิงลดสั้น ๆ ใบประดับและ กลีบเลี้ยงแฉกลึกถึงโคน เรียงซ้อนเหลื่อม (ภาพ: เขาปู่เขาย่า พัทลุง - SSi)
ใบประดับย่อยเรียงหนาแน่น รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 1-2 ซม. ปลายแหลม
กลีบเลี้ยงเรียงซ้อนเหลื่อม คู่นอกรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 1-3 ซม. ขอบจักถี่ สังหยูดอกแดง
เป็นติ่งหนาม ปลายแหลมยาว กลีบคู่ในแคบและสั้นกว่า ดอกสีม่วงอมน�้าเงิน Pseuduvaria macrophylla (Oliv.) Merr. var. sessilicarpa J. Sinclair
หลอดกลีบยาว 2-4 ซม. กลีบบน 4 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 2-3 ซม. กลีบคู่ในแคบกว่า
กลีบล่างรูปรีกว้าง เกสรเพศผู้อันสั้น 2 อัน อันยาว 2 อัน อันยาวยื่นเลยปากหลอดกลีบ วงศ์ Annonaceae
อับเรณูยาว 3-4 มม. รังไข่เกลี้ยง ผลรูปรีแคบ ยาว 1.5-2 ซม. มี 4 เมล็ด แบน ชื่อพ้อง Pseuduvaria sessilicarpa (J. Sinclair) Y. C. F. Su & R. M. K. Saunders
เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 มม. มีขน (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ อังกาบ, สกุล) ไม้ต้น สูง 5-10 ม. แยกเพศร่วมต้นหรือต่างต้น มีขนสีน�้าตาลหนาแน่นตาม
พบที่อินเดีย พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทั่วทุกภาค ภาคใต้จนถึง กิ่งอ่อน เส้นกลางใบ ก้านใบ กลีบเลี้ยงด้านนอก และผล ใบเรียงเวียน รูปขอบขนาน
ชุมพร ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา หรือตามเขาหินปูน ความสูง หรือรูปใบหอก ยาว 15-45 ซม. ปลายแหลมยาว โคนมน เส้นแขนงใบข้างละ
ถึงประมาณ 1500 เมตร มีสรรพคุณยั้บยั้งการเติบโตของแบคทีเรีย แก้อักเสบ ลดการ 18-24 เส้น ก้านใบยาวประมาณ 8 มม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ตามซอกใบ
เกร็งของกล้ามเนื้อ คล้ายกับอังกาบ B. cristata L. ก้านดอกยาว 1.5-2 ซม. กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 2 มม.
กลีบดอก 6 กลีบ เรียง 2 วง กลีบนอก 3 กลีบ รูปไข่ ยาวประมาณ 3 มม. ด้านนอก
เอกสารอ้างอิง มีขนกระจาย พับงอออก กลีบวงใน 3 กลีบ มีก้านกลีบแคบ ๆ ปลายกลีบแผ่กว้าง
Bremekamp, C.E.B. (1961). Scrophulariaceae, Nelsonieae, Thunbergiaceae,
Acanthaceae. Dansk Botanisk Arkiv 20(1): 65. โคนคล้ายเงี่ยง ประกบติดกันเป็นรูปหมวก ยาวประมาณ 7 มม. เกสรเพศผู้
Hu, J.Q. and T.F. Daniel. (2011). Acanthaceae (Barleria). In Flora of China Vol. จ�านวนมาก ปลายมีรยางค์สั้นๆ ปลายตัด เป็นหมันในดอกเพศเมีย มีหลายคาร์เพล
19: 469. แยกกัน มีขน ก้านช่อผลยาวได้ถึง 2 ซม. ผลย่อยมี 8-12 ผล เส้นผ่านศูนย์กลาง
ประมาณ 1.5 ซม. ก้านผลย่อยยาวประมาณ 1.2 ซม.
พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น
ความสูงระดับต�่า ๆ หรือป่าพรุ
สกุล Pseuduvaria Miq. มี 56 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทย
มีประมาณ 10 ชนิด ชื่อสกุลหมายถึงสกุลที่คล้ายกับสกุล Uvaria
เอกสารอ้างอิง
Li, B., Y.C.F. Su and R.M.K. Saunders. (2011). Annonaceae (Pseuduvaria). In
Flora of China Vol. 19: 689.
สังกรณี: ช่อดอกคล้ายช่อเชิงลด ใบประดับและใบประดับย่อยเรียงหนาแน่น กลีบเลี้ยงเรียงซ้อนเหลื่อม กลีบดอกบน Sinclair, J. (1955). A revision of the Malayan Annonaceae. Gardens’ Bulletin
4 กลีบ กลีบคู่ในแคบกว่า เกสรเพศผู้อันยาวยื่นเลยปากหลอดกลีบ (ภาพซ้าย: cultivated - RP; ภาพขวา: บุรีรัมย์ - PK) Singapore 14(2): 408-412.
411
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 411 3/1/16 6:26 PM