Page 414 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 414
แววตา แววมยุเรศ สารานุกรมพืชในประเทศไทย ศรีจันทรา
Thunbergia alata Bojer ex Sims Torenia fournieri Linden ex E. Fourn.
วงศ์ Acanthaceae ไม้ล้มลุก สูง 20-40 ซม. มีขนสั้นนุ่มตามเหลี่ยมของล�าต้น แผ่นใบทั้งสองด้าน
ไม้เถาล้มลุก มีขนหนาแน่นตามกิ่ง แผ่นใบทั้งสองด้าน กลีบเลี้ยงด้านนอก ก้านใบ และก้านดอก ใบรูปไข่ ยาว 1.5-5 ซม. ปลายแหลม โคนรูปลิ่มถึงกลม
และผล ใบรูปหัวใจหรือหัวลูกศร ยาว 2.5-7 ซม. ขอบเรียบหรือจักซี่ฟัน เส้นโคนใบ ก้านใบยาว 0.3-2 ซม. ดอกออกเป็นช่อกระจะ มักออกเป็นคู่ ๆ ที่ปลายกิ่ง ก้านดอก
ข้างละ 2 เส้น ก้านใบยาว 1-4 ซม. มีปีก ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ใบประดับ ยาว 1-3 ซม. ใบประดับรูปเส้นด้าย ยาว 2-7 มม. กลีบเลี้ยงยาว 1.4-2 ซม. หลอดกลีบ
แฉกด้านเดียว เป็นสัน หุ้มกลีบเลี้ยง ติดทน กลีบเลี้ยงขนาดเล็ก มีได้ถึง 12 แฉก มี 5 สันเป็นครีบคล้ายปีกไม่ถึงบนก้านดอก กว้าง 2-3 มม. ดอกสีม่วงอ่อน ยาว
ดอกรูปแตร สีส้มอมเหลืองหรือสีอื่นๆ โคนกลีบด้านในส่วนมากมีสีเข้ม หลอด 2.5-3.5 ซม. หลอดกลีบดอกด้านในสีเหลือง ปลายกลีบล่างสีเข้ม มักมีปื้นสีเหลือง
กลีบดอกโค้งงอ เรียวยาว ยาว 1.5-2.5 ซม. กลีบรูปไข่กลับ ปลายตัด ยาว 3-4 ซม. กลีบบนกว้าง 1.3-1.5 ซม. ยาว 0.8-1 ซม. กลีบล่างกลม ขนาดเล็กกว่ากลีบบน
เกสรเพศผู้ติดใกล้โคนหลอดกลีบ จานฐานดอกรูปวงแหวน มีต่อมน�้าต้อย ผลยาว เกสรเพศผู้คู่ล่างไม่มีเดือยที่โคน ผลยาวประมาณ 1 ซม.
ประมาณ 2-2.5 ซม. ปลายมีจะงอย (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ รางจืด, สกุล) พบที่จีนตอนใต้และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่งที่ชื้นแฉะ
มีถิ่นก�าเนิดในแอฟริกาตะวันออก เป็นไม้ประดับ มีหลากสายพันธุ์และหลากสี ชายป่า บนก้อนหินริมล�าธาร ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร ต้นที่เป็นไม้ประดับ
มีหลากสายพันธุ์และหลากสี
เอกสารอ้างอิง
Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum เอกสารอ้างอิง
Press, Honolulu, Hawai`i. Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
Press, Honolulu, Hawai`i.
Yamazaki, T. (1990). Scrophulariaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(2): 213-214.
แววตา: มีขนหนาแน่น ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ใบประดับเป็นสัน หุ้มกลีบเลี้ยง ติดทน ดอกรูปแตร สีส้มอมเหลือง
โคนกลีบด้านในสีเข้ม (ภาพ: cultivated - RP)
แววมยุรา, สกุล
Torenia L.
วงศ์ Linderniaceae
แววมยุรา: ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกคล้ายช่อซี่ร่ม หลอดกลีบเลี้ยงมี 5 สันเป็นครีบถึงบนก้านดอก (ภาพซ้าย:
ไม้ล้มลุก ล�าต้นมักเป็นเหลี่ยม ใบเรียงตรงข้าม ขอบจัก ดอกออกเดี่ยว ๆ ห้วยขาแข้ง อุทัยธานี - PK); แววมยุเรศ: ดอกออกเป็นช่อกระจะ มักออกเป็นคู่ ๆ ที่ปลายกิ่ง สันกลีบเลี้ยงไม่ถึงบนก้านดอก
หรือเป็นช่อกระจะตามซอกใบหรือปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงคล้ายรูปปากเปิด กลีบบน ต้นที่เป็นไม้ประดับมีหลากสี (ภาพขวาบน: แจ้ซ้อน ล�าปาง - RP; ภาพขวาล่าง: cultivated - PT)
3 กลีบ กลีบล่างจัก 2 พู หลอดกลีบเป็นครีบหรือปีก กลีบดอกรูปปากเปิด กลีบ ศรีจันทรา
บนเรียบหรือเว้าตื้น กลีบล่าง 3 กลีบ บานออก เกสรเพศผู้คู่หน้ายาวกว่าคู่หลัง
ส่วนมากมีเดือยที่โคน อับเรณูเชื่อมติดเป็นคู่ กางออก โคนมีรยางค์ รังไข่เรียว Rosa helenae Rehder & E. H. Wilson
ยาว มี 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ยอดเกสรมี 2 ครีบ ผลแห้งแตกตาม วงศ์ Rosaceae
แนวตะเข็บ รูปขอบขนาน มีกลีบเลี้ยงติดทนหุ้ม เมล็ดขนาดเล็กจ�านวนมาก ไม้พุ่ม มีไหลยาวได้ถึง 10 ม. ล�าต้นมีหนามเป็นตะขอ ยาวประมาณ 4 มม. มีขน
และขนต่อมตามขอบหูใบ เส้นแขนงใบด้านล่าง ช่อดอก ก้านดอก และกลีบเลี้ยง
สกุล Torenia เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Scrophulariaceae มีประมาณ 50 ชนิด พบใน ด้านนอก หูใบยาว 1.5-2.5 ซม. แนบติดก้านใบ ปลายเป็นติ่งแหลม ใบประกอบมี
เอเชียเขตร้อน ในไทยมี 9 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตาม Reverrend Olof Torén (1718-1753) 5-9 ใบย่อย เรียงเวียน ยาว 8-17 ซม. รวมก้าน มีหนามเป็นตะขอขนาดเล็กกระจาย
หมอสอนศาสนาและนักสำารวจชาวสวีเดน ผู้ค้นพบ T. asiatica L. ใบย่อยรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 2.5-4.5 ซม. โคนกลมหรือรูปลิ่มกว้าง ขอบ
จักฟันเลื่อย ก้านใบสั้น ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่นออกสั้น ๆ ที่ปลายกิ่ง ก้านดอกยาว
แววมยุรา 1.5-3 ซม. ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-3.5 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปใบหอก
Torenia violacea (Azaola ex Blanco) Pennell ปลายแหลมยาว ขอบจัก ติดทน ด้านในมีขนหนาแน่น กลีบดอก 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม
ชื่อพ้อง Mimulus violaceus Azaola ex Blanco รูปไข่กลับ ปลายกลีบเว้าตื้น เกสรเพศผู้จ�านวนมากติดบนจานฐานดอก คาร์เพล
ไม้ล้มลุก สูง 10-40 ซม. มีขนสั้นนุ่มตามเหลี่ยมของล�าต้น แผ่นใบด้านบน จ�านวนมากแยกกัน ก้านเกสรเพศเมียเป็นหลอด ยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ผลคล้าย
เส้นแขนงใบด้านล่าง ก้านใบ ก้านดอก และสันกลีบเลี้ยง ใบรูปไข่ ยาว 1.5-4 ซม. ผลสดมีฐานดอกเจริญหุ้ม รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 1-1.5 ซม. เมล็ดขนาดเล็กจ�านวนมาก
ปลายแหลม โคนรูปลิ่มถึงกลม ก้านใบยาว 0.5-2 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ พบที่จีนตอนใต้ เวียดนามตอนบน และภาคเหนือของไทย พบที่ดอยเชียงดาว
หรือคล้ายช่อซี่ร่ม 2-4 ดอก ที่ปลายกิ่ง ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ใบประดับรูปเส้นด้าย จังหวัดเชียงใหม่ ขึ้นตามที่โล่งบนเขาหินปูน ความสูง 1800-2200 เมตร
ยาว 1-3 มม. กลีบเลี้ยงยาว 1-1.2 ซม. ขยายเล็กน้อยในผล มี 5 สันเป็นครีบถึงบน
ก้านดอก ครีบกว้าง 1-2 มม. ดอกสีขาวอมม่วง ด้านในสีอ่อนเกือบขาว มีปื้นสีเหลือง สกุล Rosa L. อยู่วงศ์ย่อย Rosoideae มีประมาณ 200 ชนิด ส่วนมากพบในเขต
ขอบกลีบล่างมีสีเข้ม ยาว 2-2.5 ซม. กลีบบนรูปกลม กว้างประมาณ 6 มม. ยาว อบอุ่นและกึ่งเขตร้อน หลายชนิดเป็นไม้ประดับ เช่น กุหลาบสายพันธุ์ต่าง ๆ
ประมาณ 4 มม. กลีบล่างขนาดเล็กกว่ากลีบบน เกสรเพศผู้คู่ล่างไม่มีเดือยที่โคน ในไทยมีพืชพื้นเมือง 2 ชนิด อีกชนิดคือ R. clinophylla Redouté & Thory หูใบ
ผลแห้งแตก ยาว 0.8-1 ซม. ไม่แนบติดก้านใบ ดอกสีขาว ชื่อสกุลเป็นภาษาละตินหมายถึงสีแดง
พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และนิวกินี เอกสารอ้างอิง
ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่งที่ชื้นแฉะ ชายป่า บนก้อนหินริมล�าธาร ความสูง Gu, C., and K.R. Robertson. (2003). Rosaceae (Rosa). In Flora of China Vol. 9: 375.
ถึงประมาณ 1300 เมตร Vidal, J.E. (1970). Rosaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(1): 63-66.
395
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 395 3/1/16 6:18 PM