Page 437 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 437

สายน�้าค้าง
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                    สามร้อยต่อใหญ่                                         พบที่กัมพูชา ในไทยพบทางภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                    Vanilla pilifera Holttum                            ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณใกล้ล�าธาร
                    วงศ์ Orchidaceae                                    หรือป่าดิบแล้ง และเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
                       กล้วยไม้ทอดเลื้อย ล�าต้นมีริ้ว อวบน�้า มีรากออกตามข้อตรงข้ามใบ ใบหนา  เอกสารอ้างอิง
                    อวบน�้า รูปขอบขนาน ยาว 8-18 ซม. ปลายแหลมยาว โคนมน ก้านใบยาว 0.4-1.5 ซม.   Duyfjes, B.E.E. and P. Inthachub. (2011). Stemonaceae. In Flora of Thailand
                                                                              Vol. 11(1): 88.
                    ช่อดอกออกตามข้อ แกนช่อยาว 3-7 ซม. มี 5-15 ดอก ใบประดับรูปไข่ ยาว 2-5 มม.
                    ติดทน ก้านดอกยาว 1.5-3.5 ซม. กลีบเลี้ยงสีเขียวอ่อน รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก
                    ยาว 4-4.5 ซม. กลีบดอกคู่ข้างคล้ายกลีบเลี้ยง ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง กลีบปากสีขาว
                    มีสีชมพูแซม เส้นกลีบสีม่วงหนาแน่นด้านใน กลีบรูปไข่กลับ ยาว 3-4 ซม. รยางค์
                    เป็นแผงขนแปรงแบนใกล้ปลายกลีบด้านในตรงข้ามอับเรณู ขนยาว 3-5 มม.
                    หน้าเส้าเกสรมีขนสีแดงเข้ม เส้าเกสรเรียว ยาว 3-3.4 ซม. ติดกลีบปากเกือบตลอด
                    แนวความยาว ฝาครอบอับเรณูสีเขียว ผลสด รูปขอบขนาน ยาว 7.5-8 ซม.
                       พบที่คาบสมุทรมลายู และบอร์เนียว ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่
                    ปราจีนบุรี และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง
                    ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร                             สามสิบกีบ: ช่อดอกออกตามซอกใบ เชื่อมติดก้านใบ มี 1-3 ดอก กลีบรวมรูปใบหอก ปลายแหลม (ภาพซ้าย:
                                                                        กาญจนบุรี, ภาพขวา: ระยอง; - PI)
                       สกุล Vanilla Plum. ex Mill. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Vanilloideae เผ่า Vanilleae มี
                       ประมาณ 107 ชนิด พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชียเขตร้อน   สายน้ำาค้าง, สกุล
                       และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 5 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษาสเปน “vaina” และ   Rhynchoglossum Blume
                       “vainilla” หรือ “ไบย์นียา” หมายถึงลักษณะของฝักรูปทรงกระบอกคล้ายกาบ  วงศ์ Gesneriaceae
                       ขนาดเล็ก อนึ่ง กลิ่นวานิลาได้จากการสกัดจากฝักของกล้วยไม้ในสกุล Vanilla
                       หลายชนิด โดยเฉพาะ V. planifolia Jacks. ex Andrews ซึ่งมีถิ่นกำาเนิดใน  ไม้ล้มลุก ไม่มีหูใบ ใบเรียงเวียน โคนเบี้ยว ช่อดอกแบบช่อกระจะเรียงออก
                       ประเทศแถบอเมริกากลาง และหมู่เกาะเวสต์อินดีส ปลูกมากในมาดากัสการ์   ด้านเดียว ใบประดับขนาดเล็กติดตรงข้ามดอก กลีบเลี้ยงรูประฆัง มี 5 สัน ปลายแยก
                      และอินโดนีเซีย                                    เป็น 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ติดทนหุ้มผล ดอกสมมาตรด้านข้าง เชื่อมติดกัน
                                                                        เป็นหลอด ปลายแผ่กว้างหรือแยกเป็นแฉก กลีบบนแยกเป็น 2 แฉกตื้น ๆ กลีบล่าง
                      เอกสารอ้างอิง                                     3 กลีบ โคนด้านในมักมีจุดสีเหลืองอมน�้าตาล เกสรเพศผู้ 2 อัน หรือ 2 คู่ยาว
                       Holttum, R.E. (1951). A new Malayan Vanilla. Gardens’ Bulletin Singapore   ไม่เท่ากัน ติดใกล้กึ่งกลางหลอดกลีบดอก รังไข่มีช่องเดียว พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ
                         13(2): 251-253.
                       Seidenfaden, G. (1978). Orchid genera in Thailand VI: Neottioideae Lindl. Dansk   จานฐานดอกรูปวงแหวนหรือรูปถ้วย เกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรแผ่ออกหรือ
                         Botanisk Arkiv 32(2): 138-146.                 แยก 2 แฉกไม่เท่ากัน ผลแห้งแตกกลางพู สั้นกว่าหรือยาวกว่ากลีบเลี้ยง เมล็ด
                       Suddee, S. (2011). Orchidaceae (Vanilla). In Flora of Thailand Vol. 12(1): 267-277.  จ�านวนมาก ขนาดเล็ก

                                                                           สกุล Rhynchoglossum มี 13 ชนิด ส่วนมากพบในเอเชียเขตร้อน ในอเมริกากลาง
                                                                           มี 1 ชนิด ในไทยมี 3 ชนิด อีกชนิดคือ เฉวียนฟ้า R. obliquum Blume ช่อดอกยาว
                                                                           ดอกสีม่วงอมฟ้า ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “rhynchos” จะงอย และ “glossa”
                                                                           ลิ้น ตามลักษณะของกลีบปากล่างยื่นยาวเป็นจะงอยคล้ายลิ้น

                                                                        สายน้ำาค้าง
                                                                        Rhynchoglossum mirabilis Patthar.
                                                                           ไม้ล้มลุก ขึ้นบนดินหรือก้อนหิน สูงได้ถึง 20 ซม. ใบรูปไข่ ยาว 5.5-9.5 ซม.
                                                                        ปลายแหลมหรือแหลมยาว แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่ม ด้านล่างมักมีต่อม
                                                                        กระจาย โคนใบมนหรือเว้าตื้น เส้นแขนงใบข้างละ 8-11 เส้น ก้านใบยาว 5-7 ซม.
                                                                        ช่อดอกส่วนมากออกตามก้านใบ ยาว 2-13 ซม. ก้านช่อยาวได้ถึง 4 ซม. มี 3-15 ดอก
                                                                        ก้านดอกยาว 0.2-1 ซม. โค้งลงหรือแผ่ออก หลอดกลีบเลี้ยงยาวได้ถึง 4 มม. ดอกสีขาว
                      สามร้อยต่อใหญ่: กลีบปากมีสีชมพูแซม เส้นกลีบสีม่วงด้านใน รยางค์เป็นแผงขนแปรงแบนด้านในตรงข้ามอับเรณู   มักมีแถบสีม่วงอมเขียวหรืออมน�้าตาลด้านในหลอดกลีบบนและล่าง หลอดกลีบยาว
                    (ภาพ: แก่งกระจาน เพชรบุรี - MT)
                                                                        5-7 มม. มีขนละเอียดหรือขนยาวห่างเป็นกระจุกบนจุดสีเหลืองอมน�้าตาลด้านใน
                    สามสิบกีบ                                           กลีบล่าง กลีบบนจักตื้น ๆ กลีบล่างยาว 3-5 มม. เกสรเพศผู้คู่ยาว ยาว 3-4 มม.
                    Stemona phyllantha Gagnep.                          คู่สั้น ยาว 1.5-1.8 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาว 2-4 มม. ยอดเกสรเพศเมียขนาดเล็ก
                                                                        เรียวยาว เบี้ยว ผลรูปไข่ ยาว 3-4 มม. เปลือกหุ้มเมล็ดเป็นริ้ว ย่น ๆ
                    วงศ์ Stemonaceae
                                                                           พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่ตาก พิษณุโลก ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่
                       ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 6 ม. รากรูปกระสวยจ�านวนมาก ยาว 40-50 ซม.   อุทัยธานี กาญจนบุรี และภาคใต้ที่สุราษฎ์ธานี ขึ้นตามหน้าถ�้าเขาหินปูนที่ความชื้นสูง
                    ใบเรียงเวียน เรียงตรงข้าม หรือเวียนรอบข้อ รูปไข่กว้าง ยาว 12-17 ซม. โคนเว้าตื้น   ความสูง 100-850 เมตร
                    เส้นใบ 9-13 เส้น ก้านใบยาว 5-9 ซม. ช่อดอกออกตามซอกใบหรือใต้ใบที่ลดรูป
                    เป็นเกล็ด มี 1-3 ดอก ก้านช่อยาว 3-8 ซม. เชื่อมติดก้านใบ 0.5-1.5 ซม. ใบประดับ  สายน้ำาค้าง
                    ยาว 0.5-1 ซม. ดอกสีเขียวอ่อนมีเส้นกลีบสีม่วงอมแดง ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม.
                    กลีบรวมรูปใบหอก ปลายแหลม กว้าง 1.2-2 ซม. ยาว 5.5-6.5 ซม. เกสรเพศผู้  Rhynchoglossum saccatum Patthar.
                    ยาว 5-6 ซม. รวมปลายแกนอับเรณูรูปลิ่ม บางครั้งมีรยางค์คล้ายเดือยขนาดเล็ก   ไม้ล้มลุก ขึ้นบนก้อนหิน สูงได้ถึง 20 ซม. โคนก้านใบและก้านช่อดอกบวม
                    ยาว 5-7 มม. ผลรูปไข่ ยาว 3-4 ซม. มี 10-12 เมล็ด สีน�้าตาลเข้ม เรียวแคบ ยาวประมาณ   ใบรูปไข่ ยาว 3.6-6.5 ซม. ปลายแหลม เส้นแขนงใบข้างละ 6-7 เส้น ก้านใบยาว
                    1.5 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เครือปุง, สกุล)       0.8-5.5 ซม. ช่อดอกออกตามก้านใบ ยาว 1.5-7 ซม. ก้านช่อยาวได้ถึง 2 ซม. มี


                                                                                                                    417






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   417                                                                 3/1/16   6:27 PM
   432   433   434   435   436   437   438   439   440   441   442