Page 442 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 442
ส�าเภา
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
สาวสนมใบเดี่ยว: มีขนยาวสีน�้าตาลตามล�าต้น และก้านใบ ใบตรงข้ามขนาดไม่เท่ากันดูคล้ายเรียงเวียน ใบรูปใบหอก
มักมีจุดสีขาวเป็นวงกระจาย เส้นใบออกจากโคนข้างละ 2 เส้น เส้นนอกบางคล้ายเส้นขอบใน (ภาพ: นราธิวาส - MP)
ส�าเภา: ใบเรียงสลับระนาบเดียว ดอกขนาดเล็ก ไม่มีกลีบดอก ผลแห้งแตก มีขนแข็งหนาแน่น ปลายขนมีเงี่ยง
เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีแดง (ภาพดอกเพศผู้: มะขาม จันทบุรี - PK; ภาพดอกเพศเมีย: ทุ่งค่าย ตรัง - SSi; ภาพผล: ชุมพร - RP)
สำาเภาทอง
Radermachera boniana Dop
วงศ์ Bignoniaceae
ไม้ต้น สูง 10-15 ม. ใบประกอบ 2 ชั้น ยาว 20-25 ซม. ใบประกอบย่อยมี
2-3 คู่ ใบย่อยมี 1-2 คู่ รูปรี ยาว 2-8 ซม. สองด้านมักไม่เท่ากัน ปลายเรียวแหลม
ยาว 0.5-1 ซม. โคนแหลม แผ่นใบด้านล่างมีต่อมประปราย ก้านใบย่อยยาว 0.3-1 ซม.
ใบปลายยาวได้ถึง 3 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกตามล�าต้น
หรือกิ่ง ยาว 5-12 ซม. กลีบเลี้ยงติดกันเป็นรูปถ้วย ยาว 5-6 มม. ปลายเป็นแฉกตื้น ๆ
สาวสยาม: ล�าต้นอวบน�้า มีขนแข็งยาวสีน�้าตาลแดงประปรายตามล�าต้น แผ่นใบด้านบนมีขนแข็งเอนประปราย
(ภาพ: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - RP) ไม่เท่ากัน ด้านนอกมีต่อม ดอกสีเหลืองสด กลีบรูปปากเปิด หลอดกลีบรูปกรวย ยาว
ประมาณ 4 ซม. โคนแคบ ปลายบานออก ปลายเป็นแฉกกลม ๆ สั้น ๆ ฝักรูปแถบ
บิดงอ ยาว 35-45 ซม. ผนังกั้นบาง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กาซะลองค�า, สกุล)
พบที่เวียดนามตอนบน และภาคเหนือของไทยที่ดอยตุง จังหวัดเชียงราย ขึ้น
บนเขาหินปูนในป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร
เอกสารอ้างอิง
van Steenis, C.C.C.J. (1976). Conspectus of the genera Radermachera and
Fernandoa in Indo-Malesia (Bignoniaceae). Blumea 23: 121-138.
สาวสวรรค์: มีขนหนาแน่นตามกิ่ง แผ่นใบ ช่อดอก และฐานดอก ใบขนาดเล็ก เรียงหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง ช่อดอก
ออกเป็นกระจุกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง อับเรณูโคนแฉกลึก (ภาพ: เขาเหมน นครศรีธรรมราช - RP)
สำาเภา
Chaetocarpus castanocarpus (Roxb.) Thwaites
วงศ์ Peraceae
ชื่อพ้อง Adelia castanocarpa Roxb.
ไม้ต้น อาจสูงได้ถึง 45 ม. แยกเพศต่างต้น หูใบรูปขอบขนาน เบี้ยว ยาวประมาณ
5 มม. ร่วงเร็ว ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปไข่ ยาว 3.5-18.5 ซม. ดอกออกเป็นกระจุก
หนาแน่น มีขนหยาบแข็ง ดอกขนาดเล็กสีเขียวอมเหลือง ดอกเพศเมียใหญ่กว่า
ดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่กว้าง ยาวประมาณ 3 มม. ไม่มีกลีบดอก ส�าเภาทอง: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกตามกิ่ง กลีบดอกรูปปากเปิด หลอดกลีบรูปกรวย โคนแคบ
จานฐานดอกรูปวงแหวน จักมนในดอกเพศผู้ จักซี่ฟันถี่ในดอกเพศเมีย สีชมพูหรือแดง ปลายบานออก เป็นแฉกกลม ๆ สั้น ๆ ฝักรูปแถบ บิดงอ (ภาพ: ดอยตุง เชียงราย - RP)
เกสรเพศผู้มี 8 อัน เชื่อมติดกัน 3-5 มม. มีขนปกคลุม ก้านชูอับเรณูยาว 0.4-1 มม. สำามะงา
รังไข่มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน ยาว 0.3-1.2 มม. Volkameria inermis L.
ยอดเกสรแยก 2 แฉก ยาว 1-2 มม. ผลแห้งแตก เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-1.8 ซม.
สีเหลืองอมเขียว เปลี่ยนเป็นสีน�้าตาล มีขนแข็งหนาแน่น ปลายขนมีเงี่ยง เมล็ดรูปไข่ วงศ์ Lamiaceae
สีด�า ยาวประมาณ 5 มม. มีเยื่อหุ้มสีแดงช่วงปลาย ชื่อพ้อง Clerodendrum inerme (L.) Gaertn.
พบที่ศรีลังกา อินเดีย หมู่เกาะอันดามัน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ไม้พุ่ม แตกกิ่งต�่า มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านช่อดอก และกลีบเลี้ยง
สุมาตรา และบอร์เนียว ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามริมล�าธาร ชายป่าพรุ ป่าชายหาด ด้านนอก ใบเรียงตรงข้าม รูปรีถึงรูปใบหอก หรือแกมรูปไข่ ยาว 2-8 ซม. ปลาย
ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร แหลมมน โคนเรียวสอบหรือมน เส้นแขนงใบข้างละ 6-8 เส้น เรียงจรดกันเป็น
เส้นขอบใน ก้านใบยาวได้ถึง 1 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงตามซอกใบ
สกุล Chaetocarpus Thwaites เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Euphorbiaceae มี 10-11 ชนิด ใกล้ปลายกิ่ง ก้านช่อยาว 1.5-4.5 ซม. ช่อแขนงส่วนมากมี 3 ดอก ใบประดับ
พบทั่วไปในเขตร้อน ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “chaite” ขน รูปแถบ ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายจักตื้น ๆ ไม่ชัดเจน มีต่อมกระจาย
แข็ง และ “kapos” ผล ตามลักษณะผลที่มีขนแข็งหนาแน่น ขยายในผลเพียงเล็กน้อย ดอกรูปคล้ายดอกเข็ม สีขาว หลอดกลีบดอกเรียวแคบ
ยาว 1.5-3 ซม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ เท่า ๆ กัน กลีบรูปรี ยาวประมาณ 7 มม.
เอกสารอ้างอิง เกสรเพศผู้ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก อับเรณูยาว 2-3 มม. รังไข่เกลี้ยง ผลรูปไข่กลับ
van Welzen, P.C. (2005). Euphorbiaceae (Chaetocarpus). In Flora of Thailand
Vol. 8(1): 152-155. หรือกลม ยาวประมาณ 1 ซม.
422
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 422 3/1/16 6:28 PM