Page 452 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 452

แสลงพันเถา
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย




















                  แสลงพัน: ใบประดับย่อยติดใกล้โคนฐานดอก กลีบรูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัดหรือรูปสามเหลี่ยม ก้านกลีบยาวกว่า  แสลงพันเถา: ปลายใบแฉกลึกกว่ากึ่งหนึ่ง ปลายแฉกแหลม ช่อดอกแบบช่อกระจะ ดอกเรียงแน่นคล้ายรูปพีระมิด
                แผ่นกลีบเล็กน้อย สีแดง (ภาพ: ทองผาภูมิ กาญจนบุรี - SSi)  จานฐานดอกย่นคล้ายลูกฟูก สีขาว รังไข่มีขนก�ามะหยี่หนาแน่น ฝักแบน รูปแถบ (ภาพซ้าย: แก่งกระจาน เพชรบุรี - PK;
                                                                     ภาพขวา: สระบุรี - RP)
                                                                     โสก, สกุล
                                                                     Saraca L.
                                                                     วงศ์ Fabaceae
                                                                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น หูใบขนาดเล็กเชื่อมติดกัน ร่วงเร็ว หรือไม่มีหูใบ ใบประกอบ
                                                                     ชั้นเดียว เรียงเวียน ใบย่อยเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ออกตามซอกใบ
                                                                     ปลายกิ่ง หรือตามล�าต้น ดอกสมบูรณ์เพศหรือมีเพศเดียว ฐานดอกเป็นหลอด ใบประดับ
                                                                     1 อัน ใบประดับย่อย 2 อัน กลีบเลี้ยงคล้ายกลีบดอก มี 4 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม
                  แสลงพันกระดูก: ใบประดับย่อยติดประมาณกึ่งกลางหรือต�่ากว่าบนก้านดอก กลีบดอกรูปใบพาย (ภาพ: สระบุรี - RP)  ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 3-10 อัน แยกกัน ติดบนจานฐานดอก อับเรณูติดด้านหลัง
                                                                     แตกตามยาว รังไข่มีก้านแนบติดหลอดกลีบเลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย
                                                                     ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลเป็นฝักแข็ง แบน เมล็ดแบน รูปรี เปลือกบาง

                                                                       สกุล Saraca อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Caesalpinioideae เผ่า Detarieae มีประมาณ
                                                                       10 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อน ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุลอาจมาจากภาษาอินเดีย
                                                                       “asoka” และภาษาสันสกฤต “sara” สีสัน หมายถึงต้นไม้มีสีสดใส

                                                                     โสก
                                                                     Saraca indica L.
                                                                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. แกนกลางใบประกอบยาว 10-50 ซม. ใบย่อยมี 1-7 คู่
                                                                     รูปรี รูปไข่ หรือรูปใบหอก ยาว 5-30 ซม. ปลายมนหรือแหลม โคนรูปลิ่ม กลม หรือ
                                                                     เว้าตื้น เส้นแขนงใบข้างละ 15-20 เส้น ก้านใบย่อยยาว 3-5 มม. ช่อดอกยาว
                                                                     3-15 ซม. กว้างประมาณ 10-20 ซม. ใบประดับและใบประดับย่อยรูปไข่ ยาว
                  สาวปีนัง: ใบเรียบ ไม่แยกเป็นแฉก ดอกสีเหลืองอมชมพูเปลี่ยนเป็นสีชมพูอมแดง (ภาพ: cultivated - RP)  2-8 มม. สีเดียวกับกลีบเลี้ยง ใบประดับย่อยติดประมาณกึ่งกลางก้านดอก ติดทน
                แสลงพันเถา                                           หรือร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 1-2.5 ซม. ฐานดอกยาว 0.7-1.6 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่
                                                                     แกมรูปรี ยาว 0.5-1.2 ซม. สีส้มอมเหลือง เกสรเพศผู้มี 6-8 อัน รังไข่มีขนตามขอบ
                Lasiobema pulla (Craib) A. Schmitz                   ฝักแบน รูปไข่ หรือรูปรีแกมขอบขนาน ยาว 6-25 ซม. ปลายมีจะงอยสั้น ๆ ก้านฝักยาว
                วงศ์ Fabaceae                                        ประมาณ 0.5 ซม. ส่วนมากมี 4-6 เมล็ด
                  ชื่อพ้อง Bauhinia pulla Craib                        พบในภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และชวา ในไทยพบทุกภาค
                   ไม้เถา กิ่งอ่อนมีขนสั้นนุ่มสีเทา หูใบรูปเคียว ยาวประมาณ 5 มม. ใบรูปไข่กว้าง   ขึ้นตามริมล�าธารในป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 900 เมตร
                ยาวได้ถึง 15 ม. ปลายใบแฉกลึกกว่ากึ่งหนึ่ง ปลายแฉกแหลม เส้นใบ 9-11 เส้น   คล้ายกับ S. asoca (Roxb.) W. J. de Wilde ของอินเดีย ที่ใบประดับย่อยโอบ
                ก้านใบยาว 2-4 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะคล้ายรูปพีระมิด ยาวได้ถึง 20 ซม.   รอบก้านดอก ติดทน ทั้งสองชนิดมีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง
                ตาดอกรูปรี ยาว 0.8-1 ซม. มีขนสีเงินหนาแน่น ใบประดับรูปลิ่มแคบ ยาวประมาณ
                1 ซม. ใบประดับย่อยรูปแถบ ยาวประมาณ 5 มม. ติดประมาณกึ่งกลางก้านดอก   โสกเขา
                ก้านดอกยาวได้ถึง 1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย แยกเป็น 5 ส่วน รูปสามเหลี่ยม ดอก
                สีเขียวอ่อน รูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5 ซม. รวมก้านกลีบ มีขนสั้นนุ่ม   Saraca declinata (Jack) Miq.
                เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านชูอับเรณูโค้งงอ ยาวกว่ากลีบดอก เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 7 อัน   ชื่อพ้อง Jonesia declinata Jack, Saraca cauliflora Baker
                จานฐานดอกย่นคล้ายลูกฟูก รังไข่มีขนก�ามะหยี่หนาแน่น ก้านเกสรเพศเมียยาว  ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. แกนกลางใบประกอบยาว 10-50 ซม. ใบย่อยมี 3-7 คู่
                ประมาณ 5 มม. ฝักแบน รูปแถบ ยาวได้ถึง 30 ซม. ปลายมีจะงอย มี 10-20 เมล็ด   รูปไข่หรือรูปใบหอก ยาว 8-30 ซม. ปลายแหลมหรือกลม โคนรูปลิ่มหรือกลม
                เมล็ดแบน เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เครือเขาแกบ, สกุล)  เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เส้น ก้านใบย่อยยาว 0.3-1 ซม. ช่อดอกกว้าง 15-30 ซม.
                   พบที่พม่า และกัมพูชา ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่าหรือเขาหินปูนเตี้ย ๆ   ใบประดับขนาดเล็กกว่าใบประดับย่อย รูปไข่ ปลายแหลม ยาว 0.3-1.8 ซม.
                ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร                            ติดทน สีเดียวกับกลีบเลี้ยง ก้านดอกยาว 2-3 ซม. ฐานดอกยาว 1-3 ซม. กลีบเลี้ยง
                                                                     รูปไข่หรือไข่กลับ ยาว 0.5-1.5 ซม. สีแดงหรือชมพู เกสรเพศผู้ 3-5 อัน รังไข่มีขน
                  เอกสารอ้างอิง
                   Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.   ตามขอบ ฝักแบน รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 10-30 ซม. ปลายโค้ง มีจะงอย
                      In Flora of Thailand Vol. 4(1): 33-34.         ยาวประมาณ 1 ซม. มี 6-8 เมล็ด ก้านยาว 1.5-2 ซม.

                432






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   432                                                                 3/1/16   6:27 PM
   447   448   449   450   451   452   453   454   455   456   457