Page 471 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 471

หนามก้านช้าง, สกุล                                  หนามขี้แรด  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  หนามไข่กุ้ง
                    Gymnosporia (Wight & Arn.) Benth. & Hook. f.        Caesalpinia cucullata Roxb.
                    วงศ์ Celastraceae                                      ไม้เถาเนื้อแข็ง ล�าต้นมีหนามแข็งและหนามโค้งทั่วไป แกนกลางใบประกอบ
                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก แยกเพศร่วมต้น แยกเพศต่างต้น หรือแกมดอก  ยาว 15-30 ซม. ใบประกอบย่อยมี 2-5 ใบ ใบย่อยมี 4-5 คู่ รูปไข่ ยาว 5-10 ซม.
                    สมบูรณ์เพศ มีหนามหรือไม่มี หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียนหรือออกชิดกัน  ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว ก้านใบยาว 3-5 มม. ช่อดอกออกตามซอกใบ ช่อแขนง
                    คล้ายเป็นกระจุกตามกิ่งสั้น ๆ ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกตามซอกใบ หนาแน่น  แบบช่อกระจะ ยาวได้ถึง 30 ซม. ใบประดับร่วงง่าย ดอกจ�านวนมาก ก้านดอกยาว
                    ใกล้ยอด ก้านดอกมีข้อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ 5 กลีบ จานฐานดอกฉ�่าน�้า   0.5-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงสีเขียวอมเหลืองคล้ายกลีบดอก กลีบล่างรูปคุ่ม ดอกสีเหลือง
                    เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดบนขอบจานฐานดอก เป็นหมันในดอกเพศเมีย รังไข่ส่วนมาก  ยาวประมาณ 1 ซม. กลีบกลางสีน�้าตาลแดงคล้ายรูปผีเสื้อ ขนาดเล็กกว่ากลีบอื่น ๆ
                    มี 3 ช่อง หรือ 2 ช่อง แต่ละช่องส่วนมากมีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียสั้น   ก้านชูอับเรณูโค้งงอ ยาว 2-2.5 ซม. มีขนใกล้โคน รังไข่เกลี้ยง มีออวุล 1-2 เม็ด
                    ยอดเกสร 3 หรือ 2 อัน เป็นหมันในดอกเพศผู้ ผลแห้งแตก เมล็ดมีเยื่อหุ้ม   ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ฝักแบน รูปขอบขนาน ยาว 8-12 ซม. มีปีกกว้าง 5-7 มม.
                                                                        เมล็ดติดประมาณกลางฝัก
                       สกุล Gymnosporia เดิมอยู่ภายใต้สกุล Celastrus sect. Gymnosporia มีประมาณ   พบที่อินเดีย เนปาล พม่า จีนตอนใต้ เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย และฟิลิปปินส์
                       70 ชนิด บางครั้งถูกยุบให้อยู่ภายใต้สกุล Maytenus ในไทยมีประมาณ 5 ชนิด   ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทุกภาค ขึ้นตามชายป่า ริมล�าธาร ในป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา
                       ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “gymnos” เปลือย และ “sporos” เมล็ด ตามลักษณะ  และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
                       ผลแห้งแตกเห็นเมล็ดชัดเจน
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                    หนามก้านช้าง                                           Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
                                                                              In Flora of Thailand Vol. 4(1): 61-82.
                    Gymnosporia mekongensis Pierre
                       ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3 ม. มีหนามตามปลายกิ่งสั้น ๆ ใบออกเป็นกระจุกตามกิ่งสั้น
                    รูปไข่กลับหรือรูปใบหอกกลับ ยาว 2-6 ซม. ปลายมน กลม หรือเว้าตื้น โคนสอบ
                    ขอบจักมนตื้น ๆ ก้านใบสั้น ก้านช่อดอกยาวได้ถึง 1 ซม. ก้านดอกยาวได้ถึง 5 มม.
                    กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2 มม. ขอบจักไม่เป็นระเบียบ ดอกสีเขียวอมขาว กลีบรูปรี
                    หรือรูปขอบขนาน ยาว 2-2.5 มม. ปลายมน จานฐานดอกคล้ายจาน ก้านชูอับเรณู
                    ยาว 1-2 มม. รังไข่จมบนจานฐานดอกประมาณกึ่งหนึ่ง ส่วนมากมี 2 ช่อง ผล
                    รูปไข่กลับ ยาว 6-8 มม. เมล็ดรูปรี ยาว 3-5 มม. มีเยื่อหุ้มที่โคน
                       พบที่ลาว เวียดนาม คาบสมุทรมลายู และชวา ในไทยพบทางภาคตะวันออก
                    ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคตะวันตกเฉียงใต้ เป็นพืชทนน�้าท่วม   หนามขี้แรด: ล�าต้นมีหนามแข็งและหนามโค้งทั่วไป ช่อแขนงแบบช่อกระจะ กลีบเลี้ยงสีเขียวอมเหลืองคล้ายกลีบดอก
                    ขึ้นตามป่าโปร่ง ที่โล่ง ริมแม่น�้า ความสูงระดับต�่า ๆ   กลีบล่างรูปคุ่ม ดอกสีเหลือง กลีบขนาดไม่เท่ากัน (ภาพ: ทุ่งใหญ่นเรศวร กาญจนบุรี - PK)
                      เอกสารอ้างอิง                                     หนามไข่กุ้ง, สกุล
                       Hou, D., I.A. Savinov and P.C. van Welzen. (2010). Celastraceae. In Flora of   Rubus L.
                          Thailand Vol. 10(2): 166-170.
                                                                        วงศ์ Rosaceae
                                                                           ไม้พุ่มหรือรอเลื้อย กิ่งส่วนมากมีหนามตรงหรือโค้งงอ หูใบส่วนมากแนบติด
                                                                        ก้านใบ ใบเดี่ยวหรือใบประกอบ เรียงเวียน ดอกออกเดี่ยว ๆ ออกเป็นกระจุก หรือ
                                                                        ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแยกแขนง หรือช่อเชิงหลั่น กลีบเลี้ยงส่วนมากมี 5 กลีบ
                                                                        ติดทน กลีบดอกส่วนมากมี 5 กลีบ มีก้านกลีบสั้น ๆ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ติดบน
                                                                        ปากฐานดอก ส่วนมากเรียง 2 กลุ่มหรือ 2 วง ยาวไม่เท่ากัน คาร์เพลจ�านวนมาก
                                                                        ติดบนฐานดอกนูน (torus) ผลย่อยคล้ายผลผนังชั้นในแข็งเมล็ดล่อน มีช่องเดียว
                                                                        แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด มีเมล็ดเดียวที่พัฒนา ห้อยลง ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย
                                                                        ยอดเกสรเป็นตุ่ม

                      หนามก้านช้าง: ใบออกเป็นกระจุกตามกิ่งสั้น รูปไข่กลับหรือรูปใบหอกกลับ ดอกสีเขียวอมขาว เกสรเพศผู้ 5 อัน   สกุล Rubus อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Rosoideae มีประมาณ 700 ชนิด ส่วนมากพบ
                    ติดบนขอบจานฐานดอก ผลรูปไข่กลับ (ภาพ: ผาแต้ม อุบลราชธานี - MT)   ทางซีกโลกเหนือ ในไทยมี 23 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “ruber” หรือ
                    หนามขี้แรด, สกุล                                       “rubra” สีแดง ตามลักษณะผลย่อยสีแดงหลายชนิด ผลส่วนมากกินได้
                    Caesalpinia L.                                      หนามไข่กุ้ง
                    วงศ์ Fabaceae                                       Rubus ellipticus Sm. var. obcordatus (Franch.) Focke
                       ไม้เถา ไม้พุ่ม หรือไม้ต้น ส่วนมากมีหนาม ใบประกอบ 2 ชั้น เรียงเวียน แกนกลาง  ชื่อพ้อง Rubus ellipticus Sm. forma obcordatus Franch.
                    ใบประกอบมักมีหนาม ใบประกอบย่อยเรียงตรงข้าม ใบย่อยเรียงตรงข้ามหรือ  ไม้พุ่มหรือรอเลื้อย มีขนสั้นนุ่ม ขนแข็งสีน�้าตาลแดง และหนามโค้งหนาแน่น
                    เรียงสลับ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงหรือช่อกระจะ ฐานดอกสั้น กลีบเลี้ยง 5 กลีบ   ตามกิ่ง แกนและก้านใบประกอบ และแกนช่อดอก มีขนสั้นนุ่มตามหูใบ แผ่นใบ
                    ขนาดไม่เท่ากัน เรียงซ้อนเหลื่อม กลีบล่างคล้ายหมวก กลีบดอก 5 กลีบ ขนาด  ด้านล่าง ใบประดับ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก และรังไข่ หูใบรูปเส้นด้าย
                    ไม่เท่ากัน เกสรเพศผู้ 10 อัน แยกกัน โคนมักมีขน รังไข่ไร้ก้านหรือมีก้านสั้น ๆ   ยาว 0.7-1 ซม. ใบประกอบมี 3 ใบย่อย ก้านใบประกอบยาว 2-6 ซม. ก้านใบย่อย
                    มีช่องเดียว ออวุลมี 1-10 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสรรูปกรวยหรือ  คู่ล่างสั้นมาก ใบปลายยาว 2-3 ซม. ใบรูปไข่กลับกว้าง ยาว 3-6 ซม. ใบปลายยาวกว่า
                    จัก 2 พู ผลเป็นฝักแห้งแตกหรือไม่แตก เมล็ดกลม ๆ แบน   ใบคู่ล่าง ปลายตัดหรือเว้าตื้น ขอบจักฟันเลื่อย ช่อดอกแบบช่อกระจะเป็นกลุ่มแน่น
                                                                        ที่ปลายกิ่ง ยาว 1.5-4 ซม. ใบประดับรูปแถบ ยาว 5-9 มม. ใบประดับย่อยขนาดเล็ก
                       สกุล Caesalpinia อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Caesalpinioideae มีประมาณ 100 ชนิด   ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.2 ซม. ก้านดอกและกลีบเลี้ยง
                       พบทั่วไปในเขตร้อน ในไทยมี 18 ชนิด มีเพียงหางนกยูงไทย C. pulcherrima   มีขนประปราย กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 4-6 มม. ดอกสีขาวหรืออมชมพู กลีบรูปใบพาย
                       (L.) Sw. ที่เป็นไม้ประดับ ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวอิตาลี Andreas   ขอบแหว่ง เกสรเพศผู้เรียงกลุ่มเดียว สั้นกว่ากลีบดอก ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่า
                       Caesalpinus (1519-1603)                          เกสรเพศผู้เล็กน้อย ผลกลุ่มสีเหลือง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. เมล็ดมีรอยย่น

                                                                                                                    451






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   451                                                                 3/1/16   6:31 PM
   466   467   468   469   470   471   472   473   474   475   476