Page 476 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 476
หมากหมก
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
มีใบย่อยใบเดียว เรียงเวียน รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 6-15 ซม. ปลายแหลมหรือ
แหลมยาว โคนมนหรือกลม แผ่นใบค่อนข้างหนา ช่อดอกแบบช่อกระจะหรือช่อกระจุก
แยกแขนงสั้น ๆ ตามซอกใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยง
รูปไข่ ยาวประมาณ 3 มม. ติดทน ดอกสีขาวหรือครีม กลีบรูปไข่แกมรูปขอบขนาน
ยาวประมาณสองเท่าของกลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้โคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ๆ
ด้านในมีขนยาว อันที่สมบูรณ์ 5 อัน ติดเหนือกลีบเลี้ยง เป็นหมัน 5 อัน ติดเหนือ
กลีบดอก รังไข่มีช่องเดียว มีขนยาว ผลแห้งแตก รูปรี ยาว 2-3 ซม. ก้านผลยาว
0.5-2 ซม. มีเมล็ดเดียว โคนมีเยื่อหุ้มสีส้มหรือแดง
พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู และสุมาตรา ในไทยพบทุกภาค
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร
เคยแยกเป็น var. gibbosus (King) Leeh.
สกุล Ellipanthus Hook. f. มีประมาณ 9 ชนิด ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจาก
หมากสะครั่ง: ช่อดอกแบบช่อกระจุกเวียนรอบแกนช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ผลสุกสีด�า (ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ - SSa)
ภาษากรีก “ellipes” ไม่สมบูรณ์ และ “anthos” ดอก อาจหมายถึงเกสรเพศผู้
หมากหมก ที่เป็นหมันติดเหนือกลีบดอก
Lepionurus sylvestris Blume เอกสารอ้างอิง
วงศ์ Opiliaceae Vidal, J.E. (1972). Connaraceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 125-126.
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 4 ม. ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปไข่ รูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนาน
ถึงรูปแถบ ยาว 5.5-25 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนสอบหรือรูปลิ่ม ก้านใบยาว
1-8 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาว 2-4.5 ซม. ใบประดับรูปไข่กว้าง ยาว 4-6.5 มม.
ดอกออกเป็นกระจุก กระจุกละ 3 ดอกในแต่ละใบประดับ ไม่มีใบประดับย่อย
ก้านดอกยาว 1-3 มม. ดอกสีเหลืองหรืออมส้ม เชื่อมติดกันที่โคน กลีบรวมมี 4 กลีบ
รูปไข่กว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4.5 มม. ติดบนจานฐานดอกรูปถ้วยที่จักมน
เกสรเพศผู้ 4 อัน ติดใต้ขอบจานฐานดอกตรงข้ามกลีบรวม ก้านชูอับเรณูแบน
ยาวประมาณ 0.5 มม. อับเรณูยาวเท่า ๆ ก้านชูอับเรณู รังไข่รูปกรวย ยาวประมาณ
1 มม. รวมก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสรจัก 4 พู ตื้น ๆ ผลผนังชั้นในแข็ง สุกสีแดง
รูปรี ยาว 0.9-1.6 ซม. ก้านผลหนา ยาว 1-3 มม.
พบที่อินเดีย เนปาล จีนตอนใต้ พม่า เวียดนามตอนใต้ คาบสมุทรมลายู สุมาตรา
ชวา และบอร์เนียว ในไทยพบทางภาคเหนือ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา
และป่าดิบชื้นที่เป็นเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1250 เมตร น�้าคั้นจากใบใช้
บรรเทาอาการผิวหนังอักเสบ หมาตายทากลาก: มีขนสั้นนุ่มกระจาย ช่อดอกออกตามซอกใบ ผลแห้งแตก มีเมล็ดเดียว โคนมีเยื่อหุ้มสีส้มหรือแดง
(ภาพดอก: ศรีสะเกษ - SSi; ภาพผล: อุบลราชธานี - PK)
สกุล Lepionurus Blume มีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “lepion” เกล็ด หมามุ่ย, สกุล
หรือผิวชั้นนอกขอบบาง และ “oura” หาง ตามลักษณะของช่อดอกเรียวคล้าย
หาง มีใบประดับคล้ายเกล็ด Mucuna Adans.
วงศ์ Fabaceae
เอกสารอ้างอิง
Hiepko, P. (1987). Opiliaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 98-100. ไม้เถาล้มลุกหรือไม้เถาเนื้อแข็ง หูใบและหูใบย่อยร่วงเร็ว ใบประกอบมี 3 ใบย่อย
เรียงเวียน ก้านใบประกอบยาว ใบย่อยโดยเฉพาะใบคู่ข้างมักเบี้ยว ช่อดอกส่วนมาก
แบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบหรือกิ่ง มีใบประดับและใบประดับย่อย กลีบเลี้ยง
4-5 กลีบ กลีบคู่บนเชื่อมติดกันหรือแฉกตื้น ๆ กลีบล่างรูปสามเหลี่ยมไม่เท่ากัน
ดอกรูปดอกถั่ว กลีบกลางขนาดเล็ก โคนมีติ่ง มีก้านกลีบสั้น ๆ กลีบคู่ล่างและกลีบปีก
เรียวแคบ โคนมีติ่งและก้านกลีบสั้น ๆ กลีบคู่ล่างเชื่อมติดกันบางส่วนด้านล่าง
ปลายงุ้ม เกสรเพศผู้ 10 อัน 9 อันเชื่อมติดกัน หนึ่งอันแยกจรดโคน อันยาว 5 อัน
เรียงสลับกับอันสั้น อันยาวอับเรณูติดที่ฐาน อันสั้นติดไหวได้หรือติดด้านหลัง รังไข่มี
ช่องเดียว ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสรขนาดเล็ก ผลผนังหนา ส่วนมากมีริ้ว
เป็นสันนูน มักมีขนแข็งท�าให้ระคายเคือง ขอบผลมักเป็นสันคล้ายปีก เมล็ดมีขั้ว
สกุล Mucuna มีประมาณ 100 ชนิด ในไทยเป็นพืชพื้นเมือง 13 ชนิด และเป็น
ไม้ประดับ 1 ชนิด คือพวงโกเมน M. warburgii K. Schum. & Lauterb. ชื่อสกุล
เป็นภาษาบราซิเลียนที่ใช้เรียกพืชในสกุลนี้ หลายชนิดมีสรรพคุณด้านสมุนไพร
เมล็ดมีสาร dopamine (L-Dopa) สูง โดยเฉพาะหมามุ่ย M. pruriens (L.) DC.
หมากหมก: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ใบประดับรูปไข่กว้าง แต่ละใบประดับมี 3 ดอก ผลสุกสีแดง ก้านผลหนา
(ภาพ: น�้าตกกะเปาะ ชุมพร - RP) หมามุ่ย
หมาตายทากลาก Mucuna pruriens (L.) DC.
Ellipanthus tomentosus Kurz ชื่อพ้อง Dolichos pruriens L.
วงศ์ Connaraceae ไม้เถา มีขนยาวสีน�้าตาลแดงตามกิ่ง ก้านใบ ก้านดอก และกลีบเลี้ยงด้านนอก
ใบรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 3-16 ซม. หูใบย่อยรูปเส้นด้าย ยาว 4-5 มม. ช่อดอกยาว
ไม้พุ่ม หรือไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. มีขนสั้นนุ่มหนาแน่นตามกิ่ง ก้านใบ แผ่นใบ ได้ถึง 40 ซม. ก้านดอกยาว 2-6 มม. ใบประดับและใบประดับย่อยรูปใบหอก
ด้านล่าง ช่อดอก กลีบเลี้ยงด้านนอก แผ่นกลีบดอกทั้งสองด้าน และผล ใบประกอบ หรือรูปแถบ ยาว 6-9 มม. ร่วงเร็ว ช่วงโคนช่อไม่มีใบประดับ หลอดกลีบเลี้ยง
456
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 456 3/1/16 6:33 PM