Page 475 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 475
รูปกลม ๆ เกสรเพศผู้เท่าจ�านวนกลีบดอก ติดที่โคนกลีบดอกใกล้ปากหลอดกลีบ หมากว้อ สารานุกรมพืชในประเทศไทย หมากสะครั่ง
เกสรเพศเมียยาว 2-3 ซม. ผลมีกลีบเลี้ยงที่เจริญหุ้มจนมิด รูปไข่กลับ ยาว 2-3 ซม. Lepisanthes senegalensis (Poir.) Leenh.
ผนังผลแข็งเป็นคอร์ก มี 1-4 เมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ คอร์เดีย, สกุล) วงศ์ Sapindaceae
พบในแอฟริกา อินเดีย ไห่หนาน กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย ออสเตรเลีย ชื่อพ้อง Sapindus senegalensis Poir.
และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทางภาคใต้ ขึ้นตามชายหาดที่เป็นทรายหรือโขดหิน
มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดและแก้อักเสบ ไม้พุ่มหรือไม้ต้น อาจสูงได้ถึง 20 ม. ใบประกอบส่วนมากมีใบย่อยใบเดียว
หรือมีคู่เดียว บางครั้งมี 2-6 คู่ ก้านใบประกอบสั้น ใบย่อยรูปรีหรือรูปขอบขนาน
เอกสารอ้างอิง ยาว 7-35 ซม. หรือยาวได้ถึง 60 ซม. ในใบประกอบที่มีใบย่อยใบเดียว แผ่นใบเกลี้ยง
Johnston, I. (1951). Studies in the Boraginaceae, xx: Representatives of three ทั้งสองด้าน ช่อดอกยาวได้ถึง 60 ซม. ช่อกระจุกส่วนมากมี 3 ดอก กลีบเลี้ยง
subfamilies in Eastern Asia. Journal of the Arnold Arboretum 27: 2-12.
Riedl, H. (1997). Boraginaceae. In Flora Malesiana Vol. 13: 68-79. 5 กลีบ สีเขียวหรือแดง รูปไข่ ยาว 1-4 มม. ดอกสีครีมอมเขียว มี 5 กลีบ รูปรีหรือ
Zhu, G., H. Riedl and R.V. Kamelin. (1995). Boraginaceae. In Flora of China รูปไข่กลับ ยาว 2.5-4.5 มม. เกล็ดขนาดเล็ก เกสรเพศผู้ 5-9 อัน ก้านชูอับเรณู
Vol. 16: 331-332. ยาว 1-3.5 มม. มีขน รังไข่มี 2 ช่อง ผลมี 2 พู พูรูปรีกว้างเกือบกลม ยาว 0.8-1.5 ซม.
สีเขียว เปลี่ยนเป็นสีชมพูอมม่วงและสีม่วงเข้ม เกลี้ยง เมล็ดรูปรี สีน�้าตาลด�า ยาว
7-8 มม. มีขั้วเล็ก ๆ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะหวด, สกุล)
พบในแอฟริกา มาดากัสการ์ ศรีลังกา อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
และมาเลเซีย นิวกินี ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่งริมล�าธาร ในป่าเบญจพรรณ
ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น หรือป่าเสื่อมโทรม ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร เปลือก
มีสรรพคุณแก้พิษ ดอก ผล และเมล็ดมีพิษ ใบใช้สระผม
เอกสารอ้างอิง
van Welzen, P.C. (1999). Sapindaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 217-218.
หมันทะเล: ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง หลอดกลีบเลี้ยงยาว ปลายแยกเป็นแฉกสั้น ๆ ไม่เท่ากัน ดอกรูปแตร ย่น
เกสรเพศผู้ติดที่โคนกลีบดอกใกล้ปากหลอดกลีบ ผลมีกลีบเลี้ยงที่เจริญหุ้มจนมิด (ภาพ: ขนอม นครศรีธรรมราช - RP)
หมากขี้อ้น
Byttneria crenulata Wall. ex Mast.
วงศ์ Malvaceae
ชื่อพ้อง Byttneria echinata Wall. ex Kurz
ไม้เถาหรือไม้พุ่มรอเลื้อย มีขนรูปดาวประปรายตามกิ่งและช่อดอก ใบรูปไข่หรือ
แกมรูปขอบขนาน ยาว 12-18 ซม. ปลายแหลมยาว โคนมนหรือตัด แผ่นใบเกลี้ยง
เส้นโคนใบข้างละ 1-2 เส้น ก้านใบยาวได้ถึง 10 ซม. ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามซอกใบ
ยาวได้ถึง 5 ซม. ช่อแขนงคล้ายช่อซี่ร่ม กลีบเลี้ยงรูปใบหอกขนาดเล็ก มีขนสั้นนุ่ม
ดอกสีขาว กลีบรูปคุ่ม ยาว 2-3 มม. ติดที่โคนเส้าเกสรเพศผู้ มีขนบนเส้นกลางกลีบ
ปลายกลีบเรียวแคบ จัก 2 พู ตื้น ๆ ก้านชูอับเรณูสั้น แผ่กว้าง โคนเชื่อมติดเกสรเพศผู้
ที่เป็นหมัน 5 อัน เป็นแผ่นบาง ๆ รังไข่มีต่อมกระจาย ก้านเกสรเพศเมียรูปลิ่มแคบ หมากว้อ: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ กลีบเลี้ยงสีเขียวหรือแดง ผลมี 2 พู สีเขียว เปลี่ยนเป็นสีชมพูอมม่วง
ยาวประมาณ 0.5 มม. ผลเกลี้ยง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.5 ซม. รวมหนาม และสีม่วงเข้ม (ภาพกลีบเลี้ยงสีเขียวและผล: เสนา พระนครศรีอยุธยา - RP; ภาพกลีบเลี้ยงสีแดง: ศรีสะเกษ - SSi)
โคนหนามเป็นปุ่ม ก้านผลยาว 1-3 ซม เมล็ดสีด�า รูปรี ผิวเป็นสันตื้น ๆ 3 สัน (ดูข้อมูล หมากสะครั่ง
เพิ่มเติมที่ ก�ายานเครือ, สกุล)
พบที่พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Vitex cochinchinensis Dop
ภาคตะวันออก และภาคกลาง ขึ้นตามชายป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูง วงศ์ Lamiaceae
50-200 เมตร ชื่อพ้อง Vitex pierrei Craib
ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม. มีขนสั้นนุ่มหนาแน่นตามแผ่นใบด้านล่าง ก้านใบย่อย ช่อดอก
เอกสารอ้างอิง กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก ใบประกอบมี 1-5 ใบย่อย ก้านใบยาว 0.5-5 ซม.
Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae (Byttneria echinata). In Flora of Thailand
Vol. 7(3): 548. ใบย่อยรูปไข่ รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ยาวได้ถึง 12 ซม. ขอบเรียบหรือจัก
ฟันเลื่อยห่าง ๆ ก้านใบย่อยยาว 1-3 มม. ใบปลายก้านยาวได้ถึง 1.5 ซม. ช่อดอกแบบ
ช่อกระจุกเวียนรอบแกนช่อ ไม่แยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ยาว 4-12 ซม. ก้านช่อ
ยาว 1.5-5 ซม. ใบประดับย่อย 2 ใบ รูปใบหอก ยาว 0.5-1.5 ซม. ดอกไร้ก้าน
หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3-7 มม. กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาว 1-2 มม. ดอกสีชมพูหรือ
น�้าตาลอมเหลือง หลอดกลีบดอกยาว 6-6.5 มม. กลีบบน 4 กลีบ รูปไข่ ยาว
1-1.5 มม. กลีบล่างกลม ขอบจัก ยาว 2-2.5 มม. เกสรเพศผู้สั้น 2 อัน ยาว 2 อัน
ยาว 4.5-5.5 มม. โคนมีขนสีขาว ก้านเกสรเพศเมียยาว 0.6-1.4 ซม. ปลายแยกเป็น
2 แฉกตื้น ๆ ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-7 มม. สุกสีด�า (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตีนนก, สกุล)
พบที่เวียดนาม และลาว ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่บึงกาฬ และ
ภาคตะวันออกที่ศรีสะเกษ ขึ้นตามริมล�าธารในป่าเต็งรัง ความสูง 150-350 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Chantaranothai, P. (2011). A Revision of the genus Vitex (Lamiaceae) in
Thailand. Tropical Natural History 11(2): 94.
หมากขี้อ้น: ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน เส้นโคนใบข้างละ 1-2 เส้น ผลผิวเกลี้ยง มีหนาม โคนหนามเป็นปุ่ม Craib, W.G. (1918). Contributions to the Flora of Siam (Vitex pierrei), Bulletin of
(ภาพ: นครพนม - PK) Miscellaneous Information Kew 1918: 367.
455
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 455 3/1/16 6:32 PM