Page 477 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 477

ยาว 0.5-1 ซม. กลีบคู่บนยาวกว่าคู่ข้าง ดอกส่วนมากสีม่วง กลีบกลางยาว 1.6-2.5 ซม.   เอกสารอ้างอิง   สารานุกรมพืชในประเทศไทย  หมี่
                    กลีบปีกยาว 2-4 ซม. กลีบคู่ล่างยาวกว่ากลีบปีกเล็กน้อย ฝักรูปขอบขนาน ยาว   Sa, R. and C.M. Wilmot-Dear. (2010). Fabaceae (Mucuna). In Flora of China
                    5-9 ซม. ปลายโค้งงอ ผิวมีขนคล้ายไหมและขนคัน หรือขนยาวหนาแน่น มี 3-8 เมล็ด   Vol. 10: 207, 213, 217.
                    รูปรี ยาว 1-2 ซม.                                      Wilmot-Dear, C.M. (1992). A revision of Mucuna (Leguminosae: Phaseoleae) in
                                                                              Thailand, Indochina and the Malay Peninsula. Kew Bulletin 47(2): 203-245.
                       พบที่อเมริกาเขตร้อน แอฟริกา มาดากัสการ์ และเอเชีย ในไทยพบทุกภาค   ________. (2008). Mucuna Adans. (Leguminosae) in Thailand. Thai Forest Bulletin
                    ขึ้นตามชายป่า ที่โล่ง ความสูงถึงประมาณ 1100 เมตร แยกเป็น var. hirsuta (Wight   (Botany) 36: 114-139.
                    & Arn.) Wilmot-Dear ส่วนต่าง ๆ มีขนยาวหนาแน่น ใบประดับและใบประดับย่อย
                    กว้างกว่า และ var. utilis (Wall. ex Wight) Baker ex Burck มีขนยาวนุ่มแต่ไม่มี
                    ขนคัน ฝักรูปร่างบิดงอ มีสันคม ปลูกเป็นพืชอาหาร เป็นปุ๋ย และพืชคลุมดิน

                    หมามุ่ยช้าง
                    Mucuna gigantea (Willd.) DC.
                      ชื่อพ้อง Dolichos giganteus Willd.
                       ไม้เถา เกลี้ยงหรือมีขนกระจายตามกิ่ง ก้านใบ แผ่นใบ ช่อดอก ใบย่อยรูปรีหรือ
                    รูปไข่ ยาว 7-16 ซม. หูใบย่อยรูปแถบ ยาว 3-5 มม. ช่อดอกยาว 8-25 ซม. ดอกเรียง
                    หนาแน่นคล้ายช่อซี่ร่มช่วงปลายช่อ แยกแขนงสั้น ๆ ก้านดอกยาวได้ถึง 2 ซม.
                    ใบประดับรูปรีหรือรูปไข่แคบ ๆ ยาว 3-5 มม. ร่วงเร็ว ใบประดับย่อยรูปขอบขนาน
                    แกมรูปไข่ ยาว 0.6-1.8 ซม. ติดทน กลีบเลี้ยงมีขนละเอียดและขนคันกระจาย
                    หลอดกลีบยาว 0.8-1 ซม. กว้าง 1-1.5 ซม. แฉกรูปสามเหลี่ยม ยาว 1-3 มม. ดอกสีขาว   หมามุ่ย: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ช่วงโคนช่อไม่มีใบประดับ ฝักรูปขอบขนานแคบ ๆ ปลายโค้งงอ ผิวมีขนคล้ายไหม
                    มีสีเขียวอมเหลืองหรือชมพูแซม กลีบกลางส่วนมากยาว 2.5-3 ซม. กลีบปีกยาว   และขนคันหนาแน่น (ภาพ: ไพศาลี นครสวรรค์ - MP)
                    2.8-4 ซม. กลีบคู่ล่างยาวเท่า ๆ กลีบปีก ฝักแบน รูปขอบขนาน เบี้ยว ยาว 7-18 ซม.
                    หนาประมาณ 5 มม. ขอบเป็นสันคล้ายปีกทั้งสองด้าน กว้าง 0.5-1 ซม. ผิวมีขนและ
                    ขนคันแข็งกระจาย ฝักแก่เกลี้ยง ผิวมีลายเส้นละเอียด มี 1-4 เมล็ด รูปรี ยาว 2-3 ซม.
                       พบที่อินเดีย ไห่หนาน ไต้หวัน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลีย
                    และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยส่วนมากพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้น
                    ตามชายฝั่งทะเล ที่ลุ่มมีน�้าขัง และริมแม่น�้า ความสูงระดับต�่า ๆ แยกเป็นชนิดย่อย
                    subsp. plurisemina Verdc. ผลเรียวแคบกว่า มี 5-6 เมล็ด พบเฉพาะที่ฟิลิปปินส์
                    และนิวกินี

                    หมามุ่ยลาย                                            หมามุ่ยช้าง: ดอกเรียงหนาแน่นคล้ายช่อซี่ร่มช่วงปลายช่อ ฝักแบนหนา รูปขอบขนาน หนาประมาณ 5 มม. ขอบเป็นสัน
                    Mucuna stenoplax Wilmot-Dear                        คล้ายปีกทั้งสองด้าน มีขนสีน�้าตาลหนาแน่นและขนคันแข็งกระจาย (ภาพ: ขนอม นครศรีธรรมราช - RP)
                       ไม้เถา มีขนกระจายตามกิ่ง กิ่งแก่มีช่องอากาศ ใบย่อยรูปรี ยาว 9-11 ซม.
                    ช่อดอกยาว 2-7 ซม. ก้านดอกยาว 1.5-2 ซม. ใบประดับย่อยรูปไข่ ยาวประมาณ
                    1.2 ซม. ติดทน กลีบเลี้ยงกว้างประมาณ 1.4 ซม. ยาวประมาณ 8 มม. มีขนคัน
                    หนาแน่น กลีบล่างรูปใบหอก ยาว 7-8 มม. กลีบคู่ข้างรูปขอบขนาน ยาว 4-5 มม.
                    ดอกสีม่วง กลีบกลางยาวประมาณ 3 ซม. กลีบปีกยาวประมาณ 4.5 ซม. กลีบคู่ล่าง
                    ยาวเท่า ๆ กลีบปีก ฝักแบน รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 5-9 ซม. หนาประมาณ
                    1 ซม. มี 2 เมล็ด ขอบเว้าเป็นสันคล้ายปีกทั้งสองด้าน กว้าง 3-4 มม. มีริ้วเป็นสัน
                    ไม่เป็นระเบียบตามขวาง 12-15 ริ้ว เรียงจรดกันประมาณกึ่งกลางฝัก มีขนคันแข็ง
                    เมล็ดสีด�า รูปรี ยาว 2-2.4 ซม.
                       พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ของไทยที่ตรัง ยะลา สตูล ขึ้นตามชายป่าดิบชื้น
                    ความสูงประมาณ 150 เมตร


                    หมามุ่ยใหญ่                                           หมามุ่ยลาย: ฝักแบน หนา ขอบเว้าเป็นสันคล้ายปีกทั้งสองด้าน มีริ้วเป็นสันไม่เป็นระเบียบตามขวาง 12-15 ริ้ว
                    Mucuna monosperma DC. ex Wight                      เรียงจรดกันประมาณกึ่งกลางฝัก (ภาพซ้ายบน: ยะลา - RP); หมามุ่ยใหญ่: ดอกสีม่วง ออกเป็นกระจุกสั้น ๆ ขอบฝักเว้า
                                                                        เป็นสัน มีริ้วเป็นสันเรียงไม่เป็นระเบียบตามขวาง 5-6 ริ้ว (ภาพซ้ายล่างและภาพขวา: ประจวบคีรีขันธ์ - RP)
                       ไม้เถา มีขนคันกระจายตามกิ่ง ก้านใบ ช่อดอก ใบย่อยรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 7-15 ซม.
                    ช่อดอกยาว 3-6 ซม. ดอกออกเป็นกระจุกตามก้านช่อ 2-5 กระจุก ก้านดอกยาว   หมี่, สกุล
                    0.6-1 ซม. ใบประดับรูปแถบ ยาว 1.5-3 ซม. กลีบเลี้ยงมีขนคันหนาแน่น หลอดกลีบ  Daphniphyllum Blume
                    กว้างประมาณ 1 ซม. ยาวประมาณ 7 มม. ปลายแยกเป็นแฉกกว้าง กลีบล่างยาว  วงศ์ Daphniphyllaceae
                    ประมาณ 4.5 ซม. กลีบคู่ข้างยาวประมาณ 2 มม. ใบประดับย่อยรูปแถบ ยาว
                    1.5-3 ซม. ร่วงเร็ว ดอกสีม่วง มีขนที่โคนกลีบ กลีบกลางยาวประมาณ 2.5 ซม.   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น แยกเพศต่างต้น ไม่มีหูใบ ใบเรียงเวียน ส่วนมากเรียงหนาแน่น
                    กลีบปีกยาว 4-4.5 ซม. กลีบคู่ล่างยาวเท่า ๆ กลีบปีก ฝักแบน รูปรี ยาว 3.5-7.5 ซม.   ที่ปลายกิ่ง แผ่นใบค่อนข้างหนา ด้านล่างมักมีนวล ขอบใบเรียบ ก้านใบส่วนมาก
                    หนาได้ถึง 2 ซม. ขอบเว้าเป็นสันคล้ายปีกทั้งสองด้าน กว้างประมาณ 5 มม. มีริ้วเป็นสัน  มีสีแดงเรื่อ ๆ ช่อดอกแบบช่อกระจะออกตามซอกใบ มีใบประดับจ�านวนมากที่
                    เรียงไม่เป็นระเบียบตามขวาง 5-6 ริ้ว สูง 3-5 มม. มีขนคันแข็ง ยาว ส่วนมากมี  โคนช่อ ใบประดับย่อย 1 ใบ ติดที่โคนก้านดอก ไม่มีกลีบเลี้ยงหรือมี 3-6 กลีบ
                    เมล็ดเดียว สีน�้าตาลแดง รูปรี ยาวประมาณ 3 ซม.       ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้มี 5-14 อัน อับเรณูแตกตามยาว ไม่มีเกสรเพศเมียที่เป็นหมัน
                       พบที่ศรีลังกา อินเดีย และพม่า ในไทยพบเฉพาะทางภาคเหนือตอนล่างที่ตาก   ในดอกเพศผู้ รังไข่มี 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียสั้น แยก 2 แฉก
                    ก�าแพงเพชร ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่อุทัยธานี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และภาคใต้  ติดทน บางครั้งมีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันในดอกเพศเมีย ผลผนังชั้นในแข็ง ส่วนมาก
                    ที่กระบี่ ขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 300 เมตร  มีเมล็ดเดียว


                                                                                                                    457






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   457                                                                 3/1/16   6:33 PM
   472   473   474   475   476   477   478   479   480   481   482