Page 479 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 479
หยาดม่วง สารานุกรมพืชในประเทศไทย หยาดสะอาง
Microchirita rupestris (Ridl.) A. Weber & D. J. Middleton
ชื่อพ้อง Chirita rupestris Ridl.
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 35 ซม. ส่วนมากมีขนยาวตามล�าต้น ก้านใบ แผ่นใบทั้งสองด้าน
ใบประดับ ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก ใบช่วงโคนต้นมัก
ออกเดี่ยว ๆ ใบช่วงปลายกิ่งเรียงตรงข้าม รูปไข่ ยาว 2-12 ซม. ปลายแหลมยาว
โคนแหลม กลม หรือเว้าตื้น ขอบเรียบหรือจักฟันเลื่อย เส้นแขนงใบข้างละ 7-12 เส้น
ก้านใบยาว 1-8 ซม. ช่อดอกออกตามซอกใบ มี 1-3 ช่อ ก้านช่อยาว 0.4-4 ซม.
ใบประดับมี 2 ใบ เรียงตรงข้าม เชื่อมติดกันรูปถ้วย ยาวได้ถึง 2.5 ซม. แต่ละช่อ
มีได้ถึง 7 ดอก ก้านดอกยาว 0.2-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาวได้ถึง 8 มม.
ดอกรูปแตร สีม่วง ยาว 1.5-2 ซม. ปากหลอดกลีบกว้างประมาณ 7 มม. ด้านในสีขาว
รังไข่มีขนประปราย ผลยาวได้ถึง 8 ซม.
พบที่คาบสมุทรมลายู ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคเหนือที่เชียงใหม่
หยาดนภา: ถิ่นที่อยู่ตามที่โล่งบนเขาหินปูน ใบที่โคนต้นแห้งติดทน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ช่อกระจุกย่อย
แบบช่อปลายม้วน ดอกรูปกรวยคว�่า อับเรณูเรียงติดกันเป็นหลอด (ภาพ: ดอยหัวหมด ตาก - PK) ล�าปาง ตาก ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี และภาคใต้ที่ตรัง ขึ้นตามเขาหินปูน
ความสูง 100-500 เมตร
หยาดเนตร, สกุล
Microchirita (C. B. Clarke) Yin Z. Wang หยาดสะอาง
วงศ์ Gesneriaceae Microchirita tubulosa (Craib) A. Weber & D. J. Middleton
ไม้ล้มลุก ใบเรียงเวียนรอบข้อหรือเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุกหรือ ชื่อพ้อง Chirita tubulosa Craib
คล้ายช่อซี่ร่ม ออกตามซอกใบ ส่วนมากเชื่อมติดก้านใบ กลีบเลี้ยงแยกจรดโคน ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 40 ซม. มีขนยาวหนาแน่นตามล�าต้น แผ่นใบทั้งสองด้าน ช่อดอก
มี 5 กลีบ ติดทน ดอกสมมาตรด้านข้าง รูปแตรหรือรูประฆัง หลอดกลีบโค้งงอ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก ใบช่วงโคนต้นออกเดี่ยว ๆ ช่วงปลายออกตรงข้าม
กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ 2 อัน ติดช่วงโคนภายใน รูปรี ยาว 5.5-19 ซม. ปลายแหลมยาว โคนสอบเรียว ห่อช่อดอก เส้นแขนงใบข้างละ
หลอดกลีบดอก ปลายแกนอับเรณูมีรยางค์ เชื่อมติดกัน เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 2 อัน 10-19 เส้น ก้านใบยาว 0.6-3 ซม. ช่อดอกเชื่อมติดก้านดอก 1-1.5 ซม. มี 1-10 ดอก
จานฐานดอกเป็นวง รังไข่ส่วนมากมีช่องเดียว พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ 2 แนว ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ เรียงเป็นแผงด้านเดียว ก้านดอกยาว 0.5-3 ซม. กลีบเลี้ยง
ยอดเกสรส่วนมากจัก 2 พู ผลแห้งแตกตามยาวจรดโคน เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก รูปใบหอก ยาวได้ถึง 1 ซม. ดอกรูปแตร สีขาว ยาว 2.5-3 ซม. ปากหลอดกลีบกว้าง
ประมาณ 1 ซม. ปากกลีบล่างด้านในมีปื้นสีเหลืองเป็นแนวยาวจรดโคนหลอดกลีบ
สกุล Microchirita เดิมเคยอยู่ภายใต้สกุล Chirita sect. Microchirita มีประมาณ บางครั้งมีขีดสีม่วงอมแดงขนาบข้าง รังไข่มีขนที่ปลาย ผลยาวประมาณ 4 ซม.
25 ชนิด พบที่จีน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยมี 16 ชนิด ชื่อสกุล
หมายถึงคล้ายพืชในสกุล Chirita ที่มีขนาดเล็ก พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือตอนล่างที่นครสวรรค์ และภาคกลาง
ที่ลพบุรีและสระบุรี ขึ้นตามเขาหินปูนเตี้ย ๆ ความสูง 50-300 เมตร
หยาดเนตร เอกสารอ้างอิง
Microchirita bimaculata (D. Wood) A. Weber & D. J. Middleton Burtt, B.L. (2001). Flora of Thailand: annotated checklist of Gesneriaceae
(Chirita). Thai Forest Bulletin (Botany) 29: 86-89.
ชื่อพ้อง Chirita bimaculata D. Wood Weber, A., D.J. Middleton, A. Forrest, R. Kiew, C.L. Lim, A.R. Rafidah, S. Sontag,
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 ซม. ล�าต้นเกลี้ยงหรือมีขน มีขนยาวตามแผ่นใบทั้งสองด้าน P. Triboun, Y.G. Wei, T.L. Yao and M. Möller. (2011). Molecular systematics
กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก ใบรูปไข่ ปลายแหลมยาว โคนตัดหรือเว้าตื้น and remodelling of Chirita and associated genera (Gesneriaceae). Taxon
60(3): 767-790.
ใบช่วงโคนต้นออกเดี่ยว ๆ ขนาดใหญ่ ยาวได้ถึง 20 ซม. ใบช่วงปลายกิ่งเรียงตรงข้าม Wood, D. (1974). A revision of Chirita (Gesneriaceae). Notes from the Royal
ยาว 3-15 ซม. เส้นแขนงใบจ�านวนมาก ก้านใบยาว 0.5-3 ซม. ช่อดอกเชื่อมติด Botanic Garden Edinburgh 33(1): 123-205.
ก้านใบ 0.5-1.5 ซม. มีได้ถึง 15 ดอก ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ เรียงเป็นแผงด้านเดียว
ก้านดอกยาว 0.3-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาวประมาณ 5 มม. ดอกรูปแตร
สีเหลือง ยาว 1.6-2 ซม. ปากหลอดกลีบดอกกว้างประมาณ 8 มม. ปากกลีบล่าง
ด้านในมีปื้นกลมสีน�้าตาลอมแดง รังไข่เกลี้ยง ผลโค้ง ยาว 2.5-3.5 ซม.
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่ดอยสุเทพ ดอยอินทนนท์ และ
ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และทุ่งแสลงหลวง จังหวัดพิษณุโลก ขึ้นเกาะตาม
โขดหินในป่าดิบแล้ง ความสูง 500-1100 เมตร
หยาดเนตร
Microchirita oculata (Craib) A. Weber & D. J. Middleton หยาดเนตร: M. bimaculata ใบช่วงโคนต้นออกเดี่ยว ๆ ขนาดใหญ่ ใบช่วงปลายกิ่งเรียงตรงข้าม เส้นแขนงใบ
ชื่อพ้อง Chirita oculata Craib จ�านวนมาก ดอกสีเหลือง ปากกลีบล่างด้านในมีปื้นกลมสีน�้าตาลอมแดง (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - PK)
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 35 ซม. มีขนยาวตามล�าต้น แผ่นใบทั้งสองด้าน ก้านใบ ช่อดอก
กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก ใบช่วงโคนต้นออกเดี่ยว ๆ ช่วงปลายออกตรงข้าม
รูปไข่ ปลายแหลมยาว โคนตัดหรือเว้าตื้น ยาว 3-16 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่ม
มน หรือเว้าตื้น เส้นแขนงใบข้างละ 8-12 เส้น ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. ช่อดอก
เชื่อมติดก้านดอก 0.5-1 ซม. มีได้ถึง 10 ดอก ก้านดอกยาว 0.1-1 ซม. กลีบเลี้ยง
รูปใบหอก ยาว 1-1.3 ซม. ดอกรูปแตร สีเหลือง ยาว 1.5-2 ซม. หลอดกลีบดอก
สีขาว ปากหลอดกลีบกว้างประมาณ 4 มม. รอบปากหลอดกลีบด้านในมีปื้นกลม
สีน�้าตาลอมแดง รังไข่มีขนที่ปลาย ผลยาวประมาณ 1.2 ซม. มีขนหนาแน่น
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่สระแก้ว ขึ้นตามเขาหินปูน
หยาดเนตร: M. oculata มีขนยาวกระจาย ดอกสีเหลือง หลอดกลีบสีขาว รอบปากหลอดกลีบด้านในมีปื้นกลม
เตี้ย ๆ ความสูงประมาณ 100 เมตร สีน�้าตาลอมแดง (ภาพ: สระแก้ว - DM)
459
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 459 3/1/16 6:33 PM