Page 472 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 472
หนามไข่ปู
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
พบที่อินเดีย ปากีสถาน ภูฏาน ศรีลังกา เนปาล จีนตอนใต้ พม่า ลาว เวียดนาม และ พบที่เวียดนาม ในไทยพบทางภาคตะวันออกที่ปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นตามชายป่าดิบเขา และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่ประจวบคีรีขันธ์ ขึ้นตามป่าโปร่ง ที่โล่ง ความสูงถึง
ความสูง 1000-2000 เมตร ส่วน var. ellipticus ใบรูปรีหรือกลม ปลายแหลมสั้น ๆ ประมาณ 300 เมตร
ก้านดอกและกลีบเลี้ยงด้านนอกมีขนแข็งหนาแน่น มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง
เอกสารอ้างอิง
Hou, D., I.A. Savinov and P.C. van Welzen. (2010). Celastraceae. In Flora of
หนามไข่ปู Thailand Vol. 10(2): 169-170.
Rubus niveus Thunb.
ไม้พุ่มหรือรอเลื้อย มีขนสั้นนุ่มและหนามขนาดเล็กตามกิ่งอ่อน แกนและก้าน
ใบประกอบ กิ่งแก่มีนวล มีขนสั้นนุ่มตามหูใบ แผ่นใบด้านล่าง ใบประดับ ช่อดอก
กลีบเลี้ยง รังไข่ และผล หูใบรูปแถบ ยาว 5-8 มม. ใบประกอบมีใบย่อย 5-11 ใบ
ก้านใบประกอบยาว 1.5-4 ซม. ใบรูปรี รูปไข่ หรือรูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ยาว
2.5-8 ซม. ปลายแหลม โคนรูปลิ่มหรือมน ขอบจักซี่ฟันลึก ก้านใบย่อยใบข้างสั้นมาก
ใบปลายยาว 0.5-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่นออกตามปลายกิ่ง ยาว 4-6 ซม.
ใบประดับและใบประดับย่อยรูปใบหอกขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยง
รูปสามเหลี่ยม ปลายเรียวแหลม ยาว 5-8 มม. ดอกสีขาวอมแดง กลีบสั้นกว่า
กลีบเลี้ยง เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม. เกสรเพศผู้สั้นกว่าหรือยาวเท่า ๆ กลีบดอก
โคนก้านชูอับเรณูแบน คาร์เพลจ�านวนมาก ก้านเกสรเพศเมียสีชมพูอมแดง โคนมีขน
หนาแน่น ผลสุกสีด�า เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-2 ซม. มีขนสั้นนุ่มสีเทา เมล็ดย่น
พบที่อัฟกานิสถาน ภูฏาน อินเดีย ศรีลังกา เนปาล จีน พม่า ลาว เวียดนาม ไต้หวัน
หนามแดง: มีหนามตามปลายกิ่งสั้น ๆ ใบออกเป็นกระจุกตามกิ่งสั้น รูปไข่กลับ ช่วงโคนครึ่งล่างหรือหนึ่งในสาม
ภูมิภาคมาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ในไทยพบทางภาคเหนือที่ดอยเชียงดาว จังหวัด เรียวแคบ ปลายเว้าตื้น ผลแห้งแตก เมล็ดมีเยื่อหุ้มที่โคน (ภาพ: ประจวบคีรีขันธ์ - RP)
เชียงใหม่ ขึ้นตามที่โล่งบนเขาหินปูน ความสูง 1800-2200 เมตร บางประเทศ
ปลูกเพื่อเป็นอาหารของนก ขึ้นเป็นวัชพืชในแอฟริกา อเมริกา ออสเตรเลีย และ หนามพรหม
เกาะกาลาปากอส น�้าสกัดจากรากมีฤทธิ์หลอนประสาท Carissa spinarum L.
เอกสารอ้างอิง วงศ์ Apocynaceae
Lu, L. and D.E. Boufford. (2003). Rosaceae. In Flora of China Vol. 9: 195, ไม้พุ่มหรือรอเลื้อย สูงได้ถึง 5 ม. กิ่งเกลี้ยงหรือมีขนละเอียด มีหนามยาว
205, 212.
Vidal, J.E. (1970). Rosaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(1): 46-61. 1-3 ซม. บางครั้งแยก 2 ง่าม ปลายง่ามมักแยก 2 แฉก ใบเรียงตรงข้าม รูปไข่
รูปไข่กลับ หรือเกือบกลม ยาว 1.5-5.5 ซม. ปลายแหลมมน มีติ่งแหลม โคนรูปลิ่ม
ถึงกลม แผ่นใบหนา เกลี้ยงหรือมีขนประปราย เส้นแขนงใบข้างละ 2-5 เส้น
ก้านใบยาว 1.5-4.5 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ยาว
1.5-4 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่ ยาว 1.5-3 มม. ปลายแหลม กลีบดอก 5 กลีบ
เรียงซ้อนทับกันด้านขวาในตาดอก ดอกบานรูปดอกเข็ม หลอดกลีบยาว 0.5-2 ซม.
ด้านในเกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่ม กลีบรูปไข่หรือรูปขอบขนาน ยาว 0.2-1.5 ซม. ขอบมี
ขนครุย เกสรเพศผู้ 5 อัน ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้นมาก อับเรณู
ยาว 1-2.5 มม. ไม่มีจานฐานดอก รังไข่ 2 ช่อง เชื่อมติดกัน เกลี้ยงหรือมีปุ่มประปราย
หนามไข่กุ้ง: ใบประกอบมี 3 ใบย่อย ปลายตัดหรือเว้าตื้น ก้านดอกและกลีบเลี้ยงด้านนอกมีขนแข็งประปราย กลีบดอก แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียยาว 0.3-1.1 ซม. รวมยอดเกสร ผลสด
รูปใบพาย ขอบแหว่ง (ภาพ: ภูหลวง เลย - SSi)
รูปไข่หรือเกือบกลม ส่วนมากยาว 1-2 ซม. สีแดงอมชมพู สุกสีด�า มีประมาณ 4 เมล็ด
พบที่แอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ขึ้น
ตามชายป่า หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร มีความผันแปรสูง
โดยเฉพาะขนาดของใบ ดอก และผล มีสรรพคุณแก้ไวรัสตับอักเสบ และไขข้ออักเสบ
สกุล Carissa L. มีประมาณ 7 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และ
หมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมีพืชพื้นเมืองชนิดเดียว เป็นไม้ประดับ 2 ชนิด คือ
มะนาวไม่รู้โห่ C. carandas L. กลีบดอกสั้นกว่าหลอดกลีบ เส้นแขนงใบข้างละ
หนามไข่ปู: ใบประกอบย่อยมากกว่า 3 ใบ ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่นออกตามปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม 4-12 เส้น มีถิ่นกำาเนิดในอินเดีย และหีบไม้งาม C. macrocarpa (Eckl.) A. DC.
ปลายเรียวแหลม ดอกสีขาวอมแดง กลีบสั้นกว่ากลีบเลี้ยง (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - SSi)
กลีบดอกยาวกว่าหลอดกลีบ มีถิ่นกำาเนิดในแอฟริกาใต้ ชื่อสกุลมาจากภาษา
หนามแดง สันสกฤต “kryshina” หรือภาษามาลายาลัมในอินเดีย หมายถึงสีดำาของผลสุก
Gymnosporia marcanii Craib เอกสารอ้างอิง
วงศ์ Celastraceae Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 10-13.
ไม้พุ่มทอดนอน อาจสูงได้ถึง 5 ม. มีหนามตามปลายกิ่งสั้น ๆ ใบออกเป็น
กระจุกตามกิ่งสั้น รูปไข่กลับ ช่วงโคนครึ่งล่างหรือหนึ่งในสามเรียวแคบ ยาว
3.5-10 ซม. ปลายเว้าตื้น โคนสอบเรียว ก้านใบยาว 0.3-1 ซม. ช่อดอกออก
เป็นกระจุกตามซอกใบหรือบนกิ่งสั้น ๆ ยาวได้ถึง 1.8 ซม. ก้านช่อสั้น ก้านดอก
ยาว 3-8 มม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 มม. ขอบมีขนครุย กลีบดอกรูปขอบขนาน
ยาวประมาณ 4 มม. ปลายจักไม่เป็นระเบียบ จานฐานดอกแบน มีรอยบาก 5 จัก
ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 3.5 มม. รังไข่มี 3 ช่อง ยอดเกสรจัก 3 พูไม่ชัดเจน
ผลรูปไข่กลับกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-1 ซม. เมล็ดรูปรี ยาว 5-8 มม. มีเยื่อหุ้ม
ที่โคน (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ หนามก้านช้าง, สกุล)
หนามพรหม: ปลายใบแหลมมน มีติ่งแหลม ผลสุกสีด�า (ภาพซ้าย: ดอยหัวหมด ตาก, ภาพขวา: สระบุรี; - RP)
452
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 452 3/1/16 6:32 PM