Page 489 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 489
เหยื่อเลียงผา
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
เหมือดขน, สกุล ประมาณ 1 ซม. ปลายมีติ่งแหลม คู่ในขนาดเล็ก รูปแถบ กลีบปากเป็นถุง กว้างและ
Aporosa Blume ลึกประมาณ 2 ซม. เดือยยาวประมาณ 1.5 ซม. ปลายม้วนงอ มีสีเข้ม กลีบดอก
กลีบกลางรูปรีกว้าง ยาวประมาณ 1.5 ซม. ปลายกลีบเว้าตื้น กลีบปีกยาวได้ถึง 3 ซม.
วงศ์ Phyllanthaceae กลีบคู่นอกรูปขอบขนาน กลีบคู่ในรูปกลม ผลรูปกระบอง ยาวประมาณ 2 ซม.
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น แยกเพศต่างต้น หูใบร่วงเร็วหรือติดทน ใบเรียงเวียน มักมีต่อม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เทียน, สกุล)
ตามขอบใบและมีต่อม 2 ต่อมที่โคนใบ ปลายและโคนก้านใบพอง ช่อดอกแบบ พบที่คาบสมุทรมลายูตอนบน และภาคใต้ของไทยที่นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี
ช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ คล้ายช่อเชิงลด ออกตามซอกใบหรือตามกิ่ง ดอกเพศผู้ กระบี่ ตรัง สตูล ขึ้นกระจายห่าง ๆ บนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 100 เมตร
ออกเป็นกระจุก ดอกเพศเมียเรียงเวียน ใบประดับมีใบเดียว ดอกขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง
3-6 กลีบ ไม่มีกลีบดอกและจานฐานดอก เกสรเพศผู้ 2-4 อัน รังไข่มี 2 หรือ 3 ช่อง
แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ไร้ก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสรจักเป็นพูหรือแยกจรดโคน เหยื่อกุรัมน้อย
ผลแยกแล้วแตก เมล็ดมีเยื่อหุ้ม Impatiens adenioides Suksathan & Keerat.
ไม้ล้มลุก ล�าต้นอวบน�้า สูงได้ถึง 1 ม. ใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ปลายยอด รูปรี
สกุล Aporosa เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Euphorbiaceae ปัจจุบันอยู่เผ่า Antidesmeae ถึงรูปใบหอก หรือแกมรูปไข่ ยาว 6-12 ซม. ปลายแหลม โคนสอบเรียว แผ่นใบหนา
มี 82 ชนิด พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ขอบจักฟันเลื่อย ก้านใบยาว 1-5 ซม. ช่อดอกออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง
ถึงหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 20 ชนิด หลายชนิดมีลักษณะคล้ายกันมาก เช่น 15 ซม. บางครั้งแตกช่อย่อย ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. ใบประดับรูปไข่กว้าง ยาว
นวลเสี้ยน A. octandra (Buch.-Ham. ex D. Don) Vickery เหมือดโลด A. villosa 4-5 มม. ร่วงช้า ดอกสีเหลือง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ คู่นอกรูปไข่กว้าง ยาว 6-8 มม.
(Lindl.) Baill., A. wallichii Hook. f. และ A. yunnanensis (Pax & K. Hoffm.) ปลายมีติ่งแหลม คู่ในรูปแถบ ยาว 2-4 มม. กลีบปากเป็นถุง กว้างและยาวประมาณ
F. P. Metcalf ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “aporia” ยาก หมายถึงสกุลที่ยากใน 1 ซม. เดือยยาว 1-1.5 ซม. ปลายม้วนงอ กลีบดอกกลีบกลางรูปไข่กว้าง ยาวประมาณ
การจัดจำาแนก 1 ซม. มีสันเรียวจรดโคน กลีบปีกยาว 1.2-2 ซม. ติดกัน กลีบคู่นอกยาวกว่ากลีบคู่ใน
ปลายแฉกลึก ผลรูปกระบอง เกลี้ยง ยาวประมาณ 2 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เทียน, สกุล)
เหมือดขน
พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ของไทยที่ชุมพร พัทลุง ขึ้นบนเขาหินปูน
Aporosa ficifolia Baill. ความสูงระดับต�่า ๆ ลักษณะทั่วไปคล้ายกับ เหยื่อกุรัม I. mirabilis Hook. f. แต่
ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขนหยาบยาวตามกิ่งอ่อน หูใบด้านนอก เส้นแขนงใบ ดอกมีขนาดเล็กกว่า ใบเรียวแคบกว่า
ทั้งสองด้าน ก้านใบ และช่อดอก หูใบรูปไข่ ยาวได้ถึง 1 ซม. ร่วงเร็ว ใบรูปรีหรือ
รูปไข่กลับ ยาว 8-25 ซม. ขอบเรียบ ก้านใบยาว 0.5-2.5 ซม. ปลายแหลมหรือ เหยื่อเลียงผา
แหลมยาว โคนแหลมถึงกลม มีต่อมประปราย หยิกย่นตามเส้นใบ ช่อดอกออกตาม Impatiens kerriae Craib
ซอกใบ ช่อดอกออกเป็นกระจุก 1-2 ช่อ ไร้ก้านช่อ ใบประดับรูปสามเหลี่ยม ขนาดเล็ก
ช่อดอกเพศผู้ยาว 1.5-2.5 ซม. ดอกออกเป็นกระจุก 6-7 ดอก ก้านดอกยาว 0.3-1 มม. ไม้ล้มลุก ล�าต้นอวบน�้า แตกกิ่งหนาแน่น สูงได้ถึง 1 ม. ใบเรียงเวียนหนาแน่น
กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ รูปไข่กลับ สั้นกว่าใบประดับ เกสรเพศผู้ 2-3 อัน ยาว 1-1.5 มม. ที่ปลายยอด รูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาว 6-11 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่มหรือ
ช่อดอกเพศเมียยาว 4-7 มม. มีได้ถึง 5 ดอก ดอกไร้ก้าน กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ รูปไข่ รูปลิ่มกว้าง แผ่นใบหนา ขอบจักฟันเลื่อย ปลายมีต่อม โคนใบมีต่อม 1 คู่ ก้านใบ
ยาว 1.5-2.2 มม. รังไข่มี 2 ช่อง มีขนสั้นนุ่ม ยอดเกสรเพศเมียยาว 1-1.5 มม. ยาว 1-3 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ตามซอกใบ ใบประดับรูปแถบ ยาวประมาณ
แยก 2 แฉก ลึกประมาณกึ่งหนึ่ง ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.3 ซม. มีขนหนาแน่น 5 มม. ก้านดอกยาว 4-10 ซม. ดอกสีเหลืองอ่อน สีครีม หรืออมชมพู โคนด้านใน
เมล็ดรูปรี ยาวประมาณ 7.5 มม. เยื่อหุ้มสีส้ม กลีบล่างมีปื้นเป็นริ้วสีเหลืองหรือแดง กลีบเลี้ยงคู่นอกรูปไข่กว้าง ยาว 1.5-2 ซม.
พบที่กัมพูชา และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคตะวันออกที่สุรินทร์ ศรีสะเกษ ปลายมีติ่งแหลม คู่ในฝ่อ กลีบปากเป็นถุงกว้าง กว้าง 2-2.5 ซม. เดือยรูปตะขอ
ยาวประมาณ 5 มม. แยก 2 พู กลีบกลางรูปรีแกมรูปไข่กลับ ยาว 1.5-2 ซม.
อุบลราชธานี ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ความสูง 200-350 เมตร ปลายเว้าตื้น กลีบปีกคู่นอกและคู่ในยาวเท่า ๆ กัน ยาวได้ถึง 3.5 ซม. ผลรูปกระสวย
เอกสารอ้างอิง เต่งกลาง ยาวได้ถึง 3 ซม. เมล็ดมีขนละเอียด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เทียน, สกุล)
Schot, A.M. and P.C. van Welzen. (2005). Euphorbiaceae (Aporosa). In Flora พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่ดอยเชียงดาว และดอยอ่างขาง
of Thailand Vol. 8(1): 81-105. จังหวัดเชียงใหม่ และที่ดอยตุง จังหวัดเชียงราย ขึ้นตามที่โล่งเขาหินปูน ความสูง
1300-2200 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Shimizu, T. (1970). Contribution to the Flora of Southeast Asia. II. Impatiens of
Thailand and Malaya. The Southeast Asian Studies Vol. 8: 203, 216-217.
Suksathan, P. and P. Triboun. (2009). Ten new species of Impatiens (Balsami-
naceae) from Thailand. Gardens’ Bulletin Singapore 61(1): 160.
เหมือดขน: มีขนหยาบยาวกระจาย หูใบรูปไข่ ขอบใบเรียบ หยิกย่นตามเส้นใบ ผลกลม มีขนหนาแน่น เมล็ดรูปรี
เยื่อหุ้มสีส้ม (ภาพ: อุบลราชธานี; ภาพหูใบ - RP, ภาพผล - PK)
เหยื่อกุรัม
Impatiens mirabilis Hook. f.
วงศ์ Balsaminaceae
ไม้ล้มลุก ล�าต้นอวบน�้า สูงได้ถึง 3 ม. ใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ยอด รูปไข่หรือ
รูปไข่กลับ ยาว 6-25 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่ม ขอบจักมน แผ่นใบหนา
ก้านใบยาวได้ถึง 15 ซม. ช่อดอกออกตามซอกใบ ยาวได้ถึง 40 ซม. แตกแขนง
คล้ายช่อซี่ร่ม ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ใบประดับรูปรีกว้าง ยาวประมาณ 5 มม.
ปลายมีติ่งแหลม ร่วงช้า ดอกสีเหลือง หรือชมพู มีจุดสีน�้าตาลแดงหรือชมพูตาม เหยื่อกุรัม: ล�าต้นอวบน�้าขนาดใหญ่ ดอกสีเหลือง หรือชมพู มีจุดสีน�้าตาลแดงหรือชมพูตามกลีบปากจรดเดือยและ
กลีบปากจรดเดือยและกลีบดอกด้านใน กลีบเลี้ยง 4 กลีบ คู่นอกรูปไข่กว้าง ยาว กลีบดอกด้านใน เดือยม้วนงอ (ภาพซ้ายและภาพขวาบน: เขาปู่เขาย่า พัทลุง - SSi; ภาพขวาล่าง: cultivated - RP)
469
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 469 3/1/16 6:32 PM