Page 497 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 497
ฐานดอกเรียบ พบทางภาคกลางและภาคตะวันออก ส่วนอีก 2 ชนิด พบทางภาคใต้ อินทนิลบก สารานุกรมพืชในประเทศไทย อินทรชิต
คือ K. campanula (Ridl.) Tirveng. และ K. tentaculata (Hook. f.) Tirveng. Lagerstroemia macrocarpa Wall. ex Kurz
อนึ่งรูปในหนังสือ Rubiaceae of Thailand ที่ระบุว่าเป็น K. lineata (Craib)
Tirveng. แผ่นใบ ฐานดอก ดอก และผลขนาดใหญ่ น่าจะเป็น พุดเวียดนาม ที่มักพบ ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปขอบขนาน แกมรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 10-45 ซม.
ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gardenia (Kailarsenia) vietnamensis หรือ G. angusta แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 0.5-2 ซม. ช่อดอกตั้งตรง ยาวได้ถึง 30 ซม. มีขน
‘Vietnam’ ซึ่งไม่พบในแหล่งข้อมูลรายชื่อพืชต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบในการตรวจสอบ สั้นนุ่ม ก้านดอกเทียมยาว 0.5-2 ซม. ขยายในผลเล็กน้อย ตาดอกรูปกลมหรือรูปไข่
ชื่อวิทยาศาสตร์ ในไทยพบเป็นไม้ประดับ และอาจเป็นชนิดที่พบที่ภูวัว จังหวัดบึงกาฬ ยาว 1-1.6 ซม. ปลายส่วนมากไม่มีจุก หลอดกลีบเลี้ยงยาว 5-8 มม. มีสันตามยาว
ประมาณ 12 สัน ด้านนอกมีขนละเอียด กลีบหนา รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1 ซม.
สกุล Kailarsenia Tirveng. แยกมาจากสกุล Gardenia ที่มีหูใบแยก 2 แฉก ติดทน บานออกในผล ดอกสีชมพูอมม่วง กลีบรูปกลม ๆ ยาว 3-4 ซม. ขอบย่น ก้านกลีบ
และผลมีขนาดเล็กกว่า มีประมาณ 6 ชนิด พบเฉพาะในเอเชีย ในไทยมีประมาณ ยาว 1-1.5 ซม. เกสรเพศผู้ยาวเท่า ๆ กัน รังไข่เกลี้ยง ผลรูปรีกว้างหรือเกือบกลม
5 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวเดนมาร์ก Prof. Kai Larsen (1921-2012) ยาว 3-4 ซม. เกลี้ยง ปลายมีติ่งแหลม แตกเป็น 6 ซีก (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะแบก, สกุล)
อดีตบรรณาธิการร่วมหนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทย พบที่พม่า ลาว กัมพูชา ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเต็งรัง
เอกสารอ้างอิง ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร เป็นไม้ประดับทั่วไป
Craib, W.G. (1932). Rubiaceae. Florae Siamensis Enumeratio. Vol. 2: 119-120.
Puff, C., K. Chayamarit and V. Chamchumroon. (2005). Rubiaceae of Thailand. อินทรชิต
The Forest Herbarium, Bangkok.
Tirvengadum, D.D. (1983). New taxa and name changes in tropical Asiatic Lagerstroemia loudonii Teijsm. & Binn.
Rubiaceae. Nordic Journal of Botany 3: 464.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. เปลือกคล้ายเสลา เปลือกในสีม่วง ใบรูปรี หรือรูปขอบขนาน
ยาว 4-21 ซม. แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มทั้ง 2 ด้าน ก้านใบยาว 2-5 มม. ช่อดอกยาว
10-30 ซม. ตาดอกรูปไข่ ยาว 5-9 มม. ก้านดอกเทียมยาว 2-7 มม. หลอดกลีบเลี้ยง
ยาว 3-4 มม. มีสันประมาณ 12 สันตามยาวไม่ชัดเจน มี 6-8 กลีบ รูปสามเหลี่ยม
ยาว 3-6 มม. ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม ด้านในมีขนช่วงปลายกลีบ ปลายกลีบพับงอกลับ
ในผล ดอกสีชมพูเข้มหรือม่วง เปลี่ยนเป็นสีอ่อน มี 6-8 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว
1.5-2 ซม. ก้านกลีบยาวประมาณ 7 มม. ขอบกลีบเป็นคลื่น จักชายครุย แผ่นกลีบย่น
เกสรเพศผู้วงนอก 6-7 อันยาวกว่าวงใน รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปรี ยาว 1-2 ซม.
แตกเป็น 5-6 ซีก (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะแบก, สกุล)
พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงใต้
ภาคกลาง และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าชายหาด
ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร เป็นไม้ประดับทั่วไป
เอกสารอ้างอิง
de Wilde, W.J.J.O., B.E.E. Duyfjes and P. Phonsena. (2014). Lythraceae. In
อินถวาน้อย: ไม้พุ่ม แตกกิ่งหนาแน่น หูใบเชื่อมติดกัน ปลายจักเป็น 2 แฉก ดอกรูประฆัง ผลสด รูปรี มีสันตามยาว Flora of Thailand Vol. 11(4): 569-575.
5 สัน (ภาพ: ท่าอุเทน นครพนม - MP)
Furtado, C.X. (1969). A revision of Lagerstroemia L. (Lythraceae). Gardens’
Bulletin Singapore 24: 267-272.
พุดเวียดนาม: ใบ ดอก และผลขนาดใหญ่กว่า (ภาพดอก: cultivated, ภาพผล: บึงกาฬ; - RP)
อินทนิลน�้า: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ตาดอกปลายมีจุกสั้น ๆ ผลรูปรีกว้างหรือเกือบกลม เกลี้ยง ปลายมี
อินทนิลน้ำา ติ่งแหลม (ภาพ: cultivated - RP)
Lagerstroemia speciosa (L.) Pers.
วงศ์ Lythraceae
ชื่อพ้อง Munchausia speciosa L.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 5-20 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง
ทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 0.4-1 ซม. ช่อดอกตั้งตรง ยาว 15-40 ซม. มีขนสั้นนุ่ม
หนาแน่น ก้านดอกเทียมยาว 3-8 มม. ขยายในผลยาว 0.5-1.2 ซม. ตาดอกกลม
หรือรูปพีระมิด ยาว 0.7-1.2 ซม. ปลายมีจุกสั้น ๆ หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3-8 มม.
อินทนิลบก: ตาดอกรูปกลม ปลายส่วนมากไม่มีจุก หลอดกลีบเลี้ยงมีสันประมาณ 12 สัน กลีบดอกมีก้าน ขอบกลีบย่น
มีสันตามยาว 12-14 สัน ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม กลีบหนา รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ เกสรเพศผู้ยาวเท่า ๆ กัน (ภาพ: ทุ่งใหญ่นเรศวร ตาก - RP)
8 มม. บานออกหรือพับงอในผล ดอกสีม่วงอมชมพู กลีบรูปไข่กลับ ยาว 1.5-3 ซม.
ขอบย่น ก้านกลีบยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้ยาวเท่า ๆ กัน รังไข่เกลี้ยง ผลรูป
รีกว้างหรือเกือบกลม ยาว 1.5-2.5 ซม. เกลี้ยง ปลายมีติ่งแหลม แตกเป็น 6 ซีก
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะแบก, สกุล)
พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู สุมาตรา
บอร์เนียว ฟิลิปปินส์ และออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ
ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 750 เมตร เป็นไม้ประดับทั่วไป
เปลือกแก้ไข้ แก้ท้องเสีย ใบหรือแก่นต้มหรือชงน�้าร้อนดื่ม แก้โรคเบาหวาน ขับปัสสาวะ อินทรชิต: ดอกสีชมพูเข้มหรือม่วง เปลี่ยนเป็นสีอ่อน ขอบกลีบเป็นคลื่น จักชายครุย แผ่นกลีบย่น เกสรเพศผู้วงนอก
และลดความดัน 6-7 อันยาวกว่าวงใน (ภาพซ้าย: สามร้อยยอด - MT; ภาพขวา: cultivated - RP)
477
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 477 3/1/16 6:34 PM