Page 10 - วิกฤติสินเชื่อซับไพรม์
P. 10
ตลำดอ่อนตัวและผลกระทบ
ี่
ั
้
วิกฤติซับไพรม์ท าให้เกิดความตนตระหนกในภาคการเงินและท าให้นักลงทุนพากันถอนเงินออกจากพนธบัตรที่เกยวของ
ื่
์
่
กับสินเชื่อที่มีความเสี่ยงและหุ้นที่มีราคาไม่แนนอน และนาไปเก็บสะสมในรูปของสินค้าโภคภัณฑแทน การเก็งก าไรในราคา
ุ
ั
่
้
ิ
้
ึ้
ั
์
ล่วงหนาของสินค้าตาง ๆ หลังจากตลาดอนพนธล่ม ท าให้เกิดปัญหาวกฤติราคาอาหารโลกและภาวะนามันขนราคา นกเก็งก าไรที่
ต้องการผลตอบแทนในระยะสั้นถอนเงินจ านวนหลายล้านล้านดอลลาร์จากหุ้นและพันธบัตร และน าบางส่วนไปลงทุนในอาหารและ
ั
ี
ี
ั
์
่
ุ
ั
ิ
วตถดบตาง ๆ ประมาณกลางปี 2551 ดชนตลาดหลักทรัพยที่ส าคัญทั้งสาม (ดชนเฉลี่ยอุตสาหกรรมดาวโจนส์, NASDAQ และ S&P
ุ
ี
500) เข้าสู่ภาวะตลาดหมี ในวันที่ 15 กันยายน 2551 ความกังวลใจต่าง ๆ เกี่ยวกับตลาดการเงินเป็นสาเหตท าให้ดัชนตกมากที่สุด
ุ
ิ
ตั้งแต่เหตุการณ์วนาศกรรมในปี 2544 เหตุการณ์ที่เป็นสาเหตหลักคือการประกาศล้มละลายของวาณิชธนกิจ เลห์แมน บราเตอร์ส
้
นอกจากนี้ เมอร์ริล ลินช์ยังถูกบังคับให้รวมกิจการกับธนาคารแบงก์ออฟอเมริกาดวยมูลค่า 5 หมื่นล้านดอลลาร์ และความกังวลใจ
เกี่ยวกับสภาพคล่องของเอไอจีท าให้มูลค่าในตลาดหุ้นตกลงมากกว่าร้อยละ 60 ในวันนั้น
ผลกระทบทำงอ้อม
วิกฤติสินเชื่อซับไพรม์ก่อให้เกิดผลกระทบทางลบกับสภาพเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาหลายอย่าง จีดีพีของสหรัฐอเมริกา
ถูกประเมินว่าจะหดตัวลงร้อยละ 5.5 ต่อปีในระหว่างไตรมาสที่สี่ของปี พ.ศ. 2551 นายจ้างเลิกจ้างกว่า 2.6 ล้านต าแหน่งระหว่างปี
่
2551 ซึ่งเป็นจ านวนที่มากที่สุดตั้งแตปี พ.ศ. 2488 ในเดือนกันยายน 2551 จ านวนคนตกงานในสาขาการเงินสูงถึง 65,400 คนใน
สหรัฐ อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นจนถึงร้อยละ 7.2 ในเดือนธันวาคม ซึ่งเป็นอัตราที่สูงที่สุดในรอบ 16 ปี