Page 9 - วิกฤติสินเชื่อซับไพรม์
P. 9
นโยบำยของธนำคำรกลำง
ื
ผลกระทบและช่วงขาลงของตลาดการเงินปี พ.ศ. 2550 – 2551 ช่วงขาลงของภาคการเงิน ในเดอนสิงหาคม 2551
้
ี่
ิ
สถาบันการเงินทั่วโลกมียอดขาดทุนและการลดค่าทางบัญชีที่เกยวของกับสินเชื่อซับไพรม์เกนกว่า 5 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ก าไร
ของธนาคารสหรัฐ 8,533 แห่งที่รับรองโดยบรรษัทประกันเงินฝากแห่งสหรัฐลดลงจาก 3.52 หมื่นล้านดอลลาร์ในไตรมาสที่ 4 ปี
ึ้
2549 เหลือเพียง 646 ล้านดอลลาร์ ในไตรมาสเดียวกันของปี 2550 ซึ่งเป็นผลมาจากการผิดนัดช าระหนี้ที่เพมขนจ านวนมากและ
ิ่
ั
่
ี้
ี้
่
ค่าเผื่อหนสงสัยจะสูญ และนบเป็นผลประกอบการที่แยที่สุดตงแตปี 2533 ตลอดปี 2550 ธนาคารเหล่านมีก าไรประมาณ 1 แสน
ั้
ล้านดอลลาร์ ซึ่งลดลงประมาณร้อยละ 31 จาก 1.45 แสนล้านดอลลาร์ซึ่งเป็นผลก าไรที่สูงเป็นสถิติในปี 2549 ก าไรในไตรมาสแรก
ของปี 2551 คือ 1.93 หมื่นล้านดอลลาร์ ซึ่งลดลงถึงร้อยละ 46 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ภาคการเงินเริ่มรับรู้ถึงผลของวิกฤติในครั้ง
นี้ตั้งแต่เดือนกุมภาพนธ์ 2550 ด้วยการขาดทุนถึง 1.05 หมื่นล้านดอลลาร์ของเอชเอสบีซี ซึ่งเป็นประกาศแรกของการขาดทุนจาก
ั
่
ี
ู
ั
ซีดโอหรือเอ็มบีโอ ตลอดปี 2550 บริษัทสินเชื่อมากกวา 100 แห่งถกปิด พกกิจการ หรือถกขายตอ ผู้บริหารระดบสูงก็โดน
่
ั
ู
ผลกระทบด้วย เช่นประธานเจ้าหน้าที่บริหารของเมอร์ริล ลินช์และซิตีกรุ๊ปลาออกห่างกันไม่ถึงสัปดาห์ สถาบันอื่น ๆ ก็ต้องควบรวม
กิจการเพื่อความอยู่รอด