Page 6 - วิกฤติสินเชื่อซับไพรม์
P. 6
สินเชื่อควำมเสี่ยงสูง
ิ่
สัดส่วนของสินเชื่อชั้นรองเพมขึ้นเรื่อย ๆ จากร้อยละ 5 (3.5 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ) ในปี 2537 ร้อยละ 9 ในปี 2539
ร้อยละ 13 (1.6 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ) ในปี 2542 จนถึงร้อยละ 20 (6 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ) ในปี 2549 งานวิจัยชิ้นหนึ่งของ
่
ึ่
ธนาคารกลางสหรัฐกล่าววาความแตกตางเฉลี่ยของดอกเบี้ยสินเชื่อชั้นรองกับสินเชื่อชั้นหนง (หรือ "ค่าชดเชยความเสี่ยง") ลดลง
่
จากร้อยละ 2.8 จุด (280 เบซิสพอยท์) ในปี 2544 เหลือร้อยละ 1.3 จุด ในปี 2550 ซึ่งหมายความว่าค่าชดเชยความเสี่ยงที่ผู้ปล่อย
ี้
ั้
้
้
ั้
ิ
ึ้
กู้ตองการจากการปล่อยสินเชื่อชั้นรองนนลดลง แนวโนมนเกิดขนทั้งที่ผู้กู้ชั้นรองและลักษณะพเศษของสินเชื่อนนลดลง (ซึ่งความ
ิ
ื
ั
ี้
้
้
จริงแล้วควรให้ผลตรงกันขาม) ลักษณะแบบนจะเห็นไดบ่อยในวฏจักรการเตบโตและการซบเซาของสินเชื่อนอกเหนอจากผู้กู้ยืม
ึ้
ความเสี่ยงสูงที่เพิ่มขึ้นแล้ว ผู้ปล่อยกู้ก็เสนอทางเลือกและสิ่งจูงใจของสินเชื่อที่มีความเสี่ยงสูงมากขนด้วย เช่น สินเชื่อส าหรับผู้ไม่มี
ั
่
ิ
รายได ไม่มีงาน และไม่มีสินทรัพย หรือที่เรียกวาสินเชื่อนนจา (NINJA: No Income, No Job and no Assets) สินเชื่อดอกเบี้ยลอยตวที่
์
้
อนุญาตให้เจ้าของบ้านจ่ายเฉพาะดอกเบี้ยในช่วงแรกของการกู้ยืม และ ทางเลือกการจ่ายเงิน ที่ผู้กู้สามารถก าหนดจ านวนเงินที่จะ
้
่
ั
ี้
ช าระไดเอง แตดอกเบี้ยที่ยงไม่ไดจ่ายจะถกรวมเขาไปในเงินตน นอกจากน ยงมีการประเมินวาประมาณ 1 ใน 3 ของสินเชื่อ
้
ู
้
่
้
ั
ั้
ดอกเบี้ยลอยตัวที่ปล่อยกู้ในช่วง 2547 ถึง 2549 มีอัตราช่วงแรกต่ ากว่าร้อยละ 4 แต่เมื่อพ้นช่วงนนแล้วอัตราดอกเบี้ยก็เพมขนสูง
ึ้
ิ่
มากจนท าให้เงินที่ต้องช าระในแต่ละเดือนเพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัว